iok2u.com แหล่งรวมข้อมูลข่าวสารเรื่องราวน่าสนใจเพื่อการศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนรู้

มิสเตอร์เรน (Mr. Rain) และมิสเตอร์เชน (Mr. Chain)
Mr. Rain และ Mr. Chain สองพี่น้องในโลกออฟไลน์และออนไลน์ที่จะมาร่วมมือกันสร้างสื่อสารสนเทศ เพื่อเผยแพร่ให้ความรู้ในเรื่องราวต่างๆ มากมายสร้างสังคมในการเรียนรู้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา
ยืนหยัด เข้มแข็ง และกล้าหาญ (Stay Strong & Be Brave)
ขอเป็นกำลังใจให้คนดีทุกคนในการต่อสู้ความอยุติธรรม ในยุคสังคมที่คดโกงยึดถึงประโยชน์ส่วนตนและพวกฟ้องมากกว่าผลประโยชน์ส่วนรวม จนหลายคนคิดว่าพวกด้านได้อายอดมักได้ดี แต่หากยึดคำในหลวงสอนไว้ในเรื่องการทำความดีเราจะมีความสุขครับ
Pay It Forward เป้าหมายเล็ก ๆ ในการส่งมอบความดีต่อ ๆ ไป
เว็ปไซต์นี้เกิดจากแรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward ที่เล่าถึงการมีเป้าหมายเล็ก ๆ กำหนดไว้ให้ส่งมอบความดีต่อไปอีก 3 คน หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา อยากให้ส่งต่อเพื่อถ่ายทอดต่อไป

อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)

 

อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) เกิดจากการแบ่งยุคอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนแปลง

ดัชนีซี้วัดความพร้อมของอุตสาหกรรม 4.0 เกิดจากแนวคิดของการเปลี่ยนผ่านที่เล่าถึงยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่มีการแบ่ง โดยมีการแบ่งอุตสาหกรรมออกเป็น 4 ยุค และมีการกำหนดให้ยุคที่ 4 (The Fourth Industrial Revolution) เป็นการเข้าสู่การผลิตที่มีคุณภาพและประสิทธภาพสูงสุด โดยเรียกเป็น อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ซึ่งในยุคนี้จะเน้นในการทำงานที่มีการบูรณาการทำงานร่วมกันที่มีโลกดิจิทัลของอินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วยจัดการ ในกระบวนการผลิตหรือการบริการ

ในระบบเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมภาคการผลิตด้วยศักยภาพ ในการสร้างคุณค่าในเครือข่ายอัจฉริยะ การประสานระหว่างเทคโนโลยีส่วนปฏิบัติการ (Operation Technology: OT) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) ซึ่งมีผลกระทบต่อทั้งภาคบริการและและภาครัฐของทุกประเทศ

จากกระแสการตื่นตัวต่อการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ทำให้หลายองค์กร สนใจที่จะปรับองค์กรให้สอดคล้องกับแนวคิดดังกล่าว แต่ยังขาดความรู้และความชัดเจนว่าจะต้องปรับปรุงองค์กรในด้านใด และต้องปรับปรุงไปแค่ไหนถึงจะเรียกได้ว่า เป็นองค์กรแห่งยุคอุตสาหกรรม 4.0 แล้ว จึงได้มีหลายองค์กรพยามที่จะนําแนวคิดของอุตสาหกรรม 4.0 มาจำแนก แจกแจง และนําเสนอเป็นแนวทางในการประเมินองค์กร เพื่อให้ทราบว่าองค์กรยังมีช่องวางในเรื่องใดบ้าง และเรียกเครื่องมือตัวนี้ว่า ดัชนีหรือดัชนีชี้วัด

ดัชนีที่มีชื่อเสียงได้รับการยอมรับอย่างมาก และเป็นดัชนีที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็นชุดแรก ๆ คือ RAMI 4.0 (Reference Architectural Model for Industry 4.0) โดย Platform Industrie 4.0 ซึ่งเป็นหนึ่งในเครือข่ายอุตสาหกรรม 4.0 ที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน และ RAMI 4.0 เองก็ได้ถูกนําไปใช้อ้างอิงและถูกนําไปพัฒนาเป็นชุดดัชนีอื่น ๆ โดยหลากหลายสถาบันหน่วยงานรวมถึง Smart Industry Readiness Index (SIRI)

 

เรื่องราวข้อมูล อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)

 - อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ยุคสมัยการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ

อุตสาหกรรม 4.0 ปรับตัวและรับมืออย่างไรในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) เทียบของประเทศไทยและต่างประเทศ

อุตสาหกรรม 4.0 รวมดัชนีชี้วัดมุ่งสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะ (Smart Industry)

ind4 อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ความสำคัญ

ind4 อุตสาหกรรม 4.0 การพัฒนาของไทย

ind4 อุตสาหกรรม 4.0 และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

-

----- 

 

ดัชนีชี้วัดระดับความพร้อมของอุตสาหกรรมไทย 4.0 (Thailand i4.0 Index)

ดัชนีชี้วัดระดับความพร้อมของอุตสาหกรรมไทย (Thailand i4.0 Index) 6 มิติหลัก 

ดัชนีชี้วัดระดับความพร้อมของอุตสาหกรรมไทย 1 เทคโนโลยี (Technology)

ดัชนีชี้วัดระดับความพร้อมของอุตสาหกรรมไทย 2 การดำเนินงานที่ชาญฉลาด (Smart Operation)

ดัชนีชี้วัดระดับความพร้อมของอุตสาหกรรมไทย 3 ระบบไอทีและธุรกรรมข้อมูล (IT System & Data Transaction)

ดัชนีชี้วัดระดับความพร้อมของอุตสาหกรรมไทย 4 ตลาดและลูกค้า (Market & Customers)

ดัชนีชี้วัดระดับความพร้อมของอุตสาหกรรมไทย 5 กลยุทธ์และองค์กร (Strategy & Organization)

ดัชนีชี้วัดระดับความพร้อมของอุตสาหกรรมไทย 6 ทุนมนุษย์ (Human Capital)

ประโยชน์จากการประเมินด้วย Thailand i4.0 Index

e-book ดัชนีชี้วัดระดับความพร้อมของอุตสาหกรรมไทย 4.0 (Thailand i4.0 Index)

-

อุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมัน (Industry 4.0 Readiness) ของ IMPULS

อุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมัน แบบตรวจสอบระดับความพร้อม

อุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมัน แบบตรวจสอบระดับความพร้อม 1. ยุทธศาสตร์และการจัดองค์กร (Strategy and organization)

อุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมัน แบบตรวจสอบระดับความพร้อม 2. โรงงานอัจฉริยะ (Smart factory)

อุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมัน แบบตรวจสอบระดับความพร้อม 3. ขบวนการทำงานที่ดี (Smart operations)

อุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมัน แบบตรวจสอบระดับความพร้อม 4. ผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นอัจฉริยะ (Smart products)

อุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมัน แบบตรวจสอบระดับความพร้อม 5. บริการข้อมูลที่ขับเคลื่อนด้วย (Data-driven services)

อุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมัน แบบตรวจสอบระดับความพร้อม 6. พนักงาน (Employees)

อุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมัน ระดับความพร้อม 6 ระดับ 

อุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมัน ระดับกลุ่มองค์กร

อุตสาหกรรม 4.0 ที่ประเทศเยอรมันเลือกใช้

---

* ความฉลาดทางนวัตกรรมดิจิทัล (Digital Innovation Quotient: DIQ)

-

 

ดัชนีความพร้อมของอุตสาหกรรมอัจฉริยะ (Smart Industry Readiness Index: SIRI)

-

 

ind4_mal เครื่องมือการประเมินความพร้อมอุตสาหกรรม 4.0 มาเลเซีย (Industry4WRD-RA)

-

 

ind4_kor  เครื่องมือการประเมินความพร้อมอุตสาหกรรม 4.0 เกาหลีใต้ (Korea Productivity Center :KPC) รวมข้อมูล

-

---

ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งไม่เพียงแต่ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมเท่านั้นที่จะต้องตระหนักถึงความท้าทาย และโอกาสในการที่จะมาใช้ประโยชน์จากการปฎิวัติอุตสาหกรรม 4.0 ในครั้งนี้ รวมถึงผู้นำของประเทศองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ภาคสังคม การเมือง สถาบันการศึกษาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและประชาชน ล้วนมีส่วนที่จะต้องตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้นมีการเตรียมความพร้อมให้สามารถรับมือให้ทันการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพื่อรักษาขีดความสามารถการแข่งขันกับนานาประเทศ ซึ่งในการที่จะเตรียมความพร้อม SMEs สู่อุตสาหกรรม 4.0 การประเมินศักยภาพอุตสาหกรรมและการเริ่มดำเนินการเป็นลี่งที่สำคัญและมืความจำเป็น เนื่องจากอุตสาหกรรมล้วนเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจและผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) การไม่สามารถใช้ประโยชน์จากภาคอุตสาหกรรม 4.0 จะทำให้ประเทศเสียเปรียบในการแข่งขัน 

ที่มาข้อมูล 

ที่มาภาพและรวบรวมโดย www.iok2u.com

---------------------------------

สนใจเรื่องราวเพิ่มเติมคลิกที่นี่

 อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) รวมข้อมูล

---------------------------------

ขอต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์
www.iok2u.com
แหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อคุณ

เว็บไซต์ www.iok2u.com นี้เกิดมาจาก แรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward โดยมีเป้าหมายเล็ก ๆ ที่กำหนดไว้ว่า ทุกครั้งที่เข้าเรียนสัมมนาหรืออบรมในแต่ละครั้ง จะนำความรู้มาจัดทำเป็นบทความอย่างน้อย 3 เรื่อง เพื่อมาลงในเว็บนี้
ความตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับมาทำการถ่ายทอดต่อไป และหวังว่าจะมีคนมาอ่านแล้วเห็นว่ามีประโยชน์นำเอาไปใช้ได้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลย โดยอาจไม่ต้องอ้างอิงที่มาหรือมาตอบแทนผู้จัด แต่ขอให้ส่งต่อหากคิดว่ามันดีหรือมีประโยชน์ เพื่อถ่ายทอดความรู้และสิ่งดี ๆ ต่อไปข้างหน้าต่อไป Pay It Forward