ที่มา https://www.facebook.com/nares.sattayarak
รวบรวมข้อมูลและภาพ www.iok2u.com
-------------------------------------------------
รวมบทความ นเรศ สัตยารักษ์ (Nares Sattayarak)-------------------------------------------------
ภาพที่ 1 แผนที่ธรณีวิทยาของที่ราบสูงบ่อละเวน (openjicareport.jica.go.jp, 2008) ที่ประกอบขึ้นด้วยหิน 2 จำพวกคือ หินบะซอลต์ (VPg สีน้ำเงิน, VNg สีเหลือง) และหินตะกอนพัดพาที่สะสมตัวบนแผ่นดินในมหายุคมีโซโซอิก (Mz1-1 : ~HHL, Mz1-2 : ~NP, PK, Mz2-1 : ~PW, SK, PP, Mz2-2 : ~KK)
ภาพที่ 2 ลำดับชั้นหินของภูเพียงบ่อบะเวน (Vilayhack, 2008) แสดงชื่อหมวดหินที่สะสมตัวบนบกในมหายุคมีโซโซอิก ซึ่งตั้งแต่ Namhiang ถึง Latsaluay น่าจะเทียบได้กับหมวดหินภูกระดึงถึงโคกกรวด ของกลุ่มหินโคราชของไทย
ภาพที่ 3 แผนที่ธรณีวิทยาของบริเวณตะวันออกของภูเพียงบ่อละเวน และเส้นแสดงตำแหน่งของเส้นตัดขวางทางธรณีวิทยาที่แสดงในภาพที่ 4
ภาพที่ 4 ภาพตัดขวางบริเวณด้านตะวันออกของภูเพียงบ่อละเวน แสดงกาวางตัวซ้อนทับกันของหินตะกอนพัดพาที่สะสมตัวบนแผ่นดินในมหายุคมีโซโซอิก(J2 ~ PK, J3 ~ PW, K1~ SK,PP, K2 ~KK) กับหินบะซอลต์ (bP1-1, bP1-2, bN1-1, bN1-2) ที่ไหลท่วมท้นบนหินตะกอน
ภาพที่ 5 ภาพตัดขวางทางธรณีวิทยาของภูเพียงบ่อละเวน แสดงถึงช่องทางที่แมกมาแทรกดันขึ้นมาจากใต้โลก แล้วกลายเป็นลาวาไหลท่วมหินตะกอนที่สะสมตัวบนแผ่นดินในมหายุคมีโซโซอิก
ภาพที่ 6 แผนที่ส่วนหนึ่งของภูเพียงบ่อละเวน แสดงรายละเอียดตำแหน่งของหินตะกอนพัด กับหินบะซอลต์ซึ่งแบ่งออกได้ถึง 4 ประเภท รวมทั้งตำแหน่งที่พบแหล่งบอกไซต์ที่น่าสนใจ (Latsaluay Fm. ~ KK, lagnao-Kang ~PP; lamination = cross bedding )