Waiyapot ep007 Supernova มหานวดารา
Supernova มหานวดารา
Big Bang เป็นปรากฎการณ์การระเบิดครั้งใหญ่ ผลของการระเบิดทำให้เกิดการขยายตัวของจักวาลเข้าสู่สภาวะอนันต์ เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 13,700 ล้านปีก่อน หลายพันล้านปีก่อนหน้านี้ นักปรัชญาทางอวกาศ เชื่อว่าจักวาลนี้ (อาจจะมีหลายจักรวาล multiverse) ประกอบไปด้วย อนุภาคจำนวนมากเรียกว่า quarks คืออนุภาคมูลฐานและเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของสสาร ควาร์ก มากกว่าหนึ่งตัวเมื่อรวมตัวกันจะเป็นอีกอนุภาคหนึ่งที่เรียกว่าแฮดรอน ( hadron) ส่วนที่เสถียรที่สุดของแฮดรอนสองลำดับแรกคือโปรตอนและนิวตรอน ซึ่งทั้งคู่เป็นส่วนประกอบสำคัญของนิวเคลียสของอะตอม อยู่ในสภาวะเป็นหนึ่งเดียว (singularity) ที่มีความหนาแน่น ความดัน และอุณหภูมิสูงมากเป็นอนันต์ (infinity) เกิดขบวนการ nuclear fusion ขึ้น เกิด atom พื้นฐานแรกของเอกภพ คือไฮโดรเจน (H) เมื่อ electron เข้าไปรวมกับ proton ปฏิกริยา nuclear fusion เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเกิดธาตุใหม่คือ Helium (He) จนเกิดธาตุที่ 8 ของตารางธาตุ คือ oxygen (O) ทำให้การเผาไหม้สันดาปสมบูรณ์ จักวาลทั้งหมดหดตัวลงเกิดเป็นดาวฤกษ์ (star) ขนาดใหญ่ สีเหลืองสดไส ใหญ่ขนาดที่สามารถบรรจุ ระบบสุริยาจักรวาล 2-3 ระบบเข้าไปในตัวมันได้ ปฏิกริยา nuclear fusion ก็ยังดำเนินต่อไปอย่างต่อเนื่อง จนเกิดธาตุที่ 26 ของตารางธาตุ คือธาตุเหล็ก (Fe) มีลักษณะโครงสร้างเป็นเหล็กพุรน กระจายตัวอยู่ขอบด้านนอกสุดของดาวฤกษ์ ในขณะที่ส่วนใจกลางยังคงเป็นก๊าซไฮโดรเจนที่ร้อนแดง ไฮโดรเจนที่ส่วนผิวนอกสุดของดาวฤกษ์ ถูกเผาไหม้ไปมาก จนสีเหลืองสดใส ของเปลวเพลิงเริ่มมอดดับเป็นดวงอาทิตย์ที่กำลงจะตาย เกิดเป็นดวงอาทิตย์สีแดง (red sun) ในห้วงเวลานี้ กฎของแรงโน้มถ่วง (gravity) เริ่มทำงาน แรงโน้มถ่วงคือ เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งทำให้วัตถุกายภาพทั้งหมดดึงดูดเข้าหากัน ความโน้มถ่วงทำให้วัตถุกายภาพมีน้ำหนัก และจะเคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางเมื่อปล่อย อิทธิพลของแรงโน้มถ่วงทำให้เหล็กพรุนที่ประกอบตามขอบของดวงอาทิตย์แดง (red sun) ถล่มเข้าสู่จุดศูนย์กลางของดวงอาทิตย์โบราญด้วยความเร็ว 2-3 เท่าของความเร็วแสง ทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรงเกินกว่าที่จะบรรยายได้ เรียกว่า มหานวดารา supernova สรรพสิ่งละเอียดเป็นผุยผง แรงระเบิดทำให้เกิด ปฏิกริยา nuclear fusion อย่างฉับพลัน เกิดธาตุต่าง ๆ ร้อยกว่าธาตุ ตามตารางธาตุ รวมทั้งทองคำและยูเรเนียม เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 13,700 ล้านปีมาแล้ว เรียกว่า Big Bang การระเบิดนี้ก่อให้เกิดฝุ่นโมเลกุลของสรรพสิ่งกระจายตัวเป็นบริเวณกว้างขวาง และมีอุณหภูมิสูงหลายพันองศาเคลวิน เรียกว่า เนบิวลา (nebular) ส่วนที่เป็นชิ้นส่วนขนาดใหญ่ที่ยังร้อนแรงมีพลังงานมากจะกลายเป็นดาวฤกษ์(stars) แรงระเบิดทำให้เกิดดาวนิวตรอน(neutron stars) คือดาวที่ประกอบด้วยนิวตรอนเป็นส่วนใหญ่มีความหนาแน่นมากกว่าดวงอาทิตย์มีรัศมีเจิดจ้ามาก ถ้ามีขนาดเล็กลงมาและส่วนประกอบเป็น electron เป็นส่วนใหญ่จะเรียกว่าดาวแคระขาว (white dwarf) เกิดหลุมดำ (black holes) ที่เป็นเทหวัตถุที่มีแรงโน้มถ่วงสูงมากจะดึงดูดทุกสรรพสิ่งเข้ามาในตัวของมันเองแม้แต่แสงทำให้ตัวมันเองเป็นสีมืดดำ ดาวฤกษ์ที่เกิดขึ้นใหม่ก็จะดึงดูดมวลสารรอบตัวเข้าสู่ตัวเอง ที่มีแรงดึงดูดสสารไม่พอที่จะรวมเข้ากับดาวฤกษ์ ก็จะลอยเป็นวงแหวนรอบ ๆ ดาวฤกษ์นั้น ๆ หนึ่งในดาวฤกษ์ดังกล่าวคือ ระบบสุริยจักวาล
Fig 7.1 Supernova (BBC.)
.
ที่มา
- https://www.facebook.com/weerasak.phomthong
รวบรวมข้อมูลและภาพ
-------------------------------------------------
Waiyapot บทความ ไวยพจน์ วรกนก (Waiyapot Worakanok) รวมข้อมูล-------------------------------------------------