iok2u.com แหล่งรวมข้อมูลข่าวสารเรื่องราวน่าสนใจเพื่อการศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนรู้

Pay It Forward เป้าหมายเล็ก ๆ ในการส่งมอบความดีต่อ ๆ ไป
เว็ปไซต์นี้เกิดจากแรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward ที่เล่าถึงการมีเป้าหมายเล็ก ๆ กำหนดไว้ให้ส่งมอบความดีต่อไปอีก 3 คน หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา อยากให้ส่งต่อเพื่อถ่ายทอดต่อไป
มิสเตอร์เรน (Mr. Rain) และมิสเตอร์เชน (Mr. Chain)
Mr. Rain และ Mr. Chain สองพี่น้องในโลกออฟไลน์และออนไลน์ที่จะมาร่วมมือกันสร้างสื่อสารสนเทศ เพื่อเผยแพร่ให้ความรู้ในเรื่องราวต่างๆ มากมายสร้างสังคมในการเรียนรู้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา
ยืนหยัด เข้มแข็ง และกล้าหาญ (Stay Strong & Be Brave)
ขอเป็นกำลังใจให้คนดีทุกคนในการต่อสู้ความอยุติธรรม ในยุคสังคมที่คดโกงยึดถึงประโยชน์ส่วนตนและพวกฟ้องมากกว่าผลประโยชน์ส่วนรวม จนหลายคนคิดว่าพวกด้านได้อายอดมักได้ดี แต่หากยึดคำในหลวงสอนไว้ในเรื่องการทำความดีเราจะมีความสุขครับ

Waiyapot ep045 Geosyncline and Polar wander Theory ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดแอ่งตะกอน และการเคลื่อนที่ของขั้วโลก

 

 
Fig. 45.1 Geosynclinal Sedimentation Cycle.
EP. 45 Geosyncline and Polar wander Theory ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดแอ่งตะกอน และการเคลื่อนที่ของขั้วโลก
Geosyncline และ Geanticline เป็นทฤษฎีการเกิดภูเขา (orogeny) นำเสนอโดย James Hall และ James Dwight Dana ในช่วงกลางศตวรรษที่ 19th เพื่ออธิบายการเกิดเทือกเขา Appalachian Mountains ต่อมา Émile Haug ได้ทำการรวบรวมและสร้างเป็นทฤษฎีในปี ค.ศ. 1900 ที่บรรยายเกี่ยวกับการสะสมตะกอนในแอ่งที่เกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกขนาดใหญ่ เรียกว่า geosyncline เนื่องจากการโค้งงอของแผ่นเปลือกโลก ทำให้การสะสมตัวของตะกอน จากตะกอนบนบก (red bed) เป็นตะกอนในทะเลตื้น (molasse) เป็นตะกอนลาดไหล่ทวีป (flysch) และเป็นตะกอนทะเลลึก (euxinic) จากนั้นก็เกิดการโค้งงอของแผ่นเปลือกโลกอีกครั้งทำให้ชั้นตะกอนทั้งหมดยกตัวขึ้นเป็นภูเขาเรียกว่า geanticline ทฤษฎีนี้ไม่สามารถอธิบายทางกลศาสตร์ให้เห็นชัดเจนได้ว่าแรงที่ทำให้เกิดการยุบตัวและโก่งตัวเป็นอย่างไร ต่อมาเมื่อมีทฤษฎี plate tectonic ที่สามารถอธิบายได้ดีกว่า ทฤษฎี Geosyncline และ Geanticline ก็เสื่อมความนิยมไป
Polar wander Theory เนื่องจากแกนของโลกเอียงระหว่าง 21-25 องศาทำให้ magnetic north และ true north จะไม่เป็นจุดเดียวกันเมื่อเปรียบเทียบกับเส้น equator ในช่วงเวลาต่าง ๆ magnetic north จะเคลื่อนที่ไปตลอด สารแม่เหล็กที่เป็นส่วนประกอบของหิน ดินที่สะสมตัวหรือแข็งตัวบนผิวโลก จะเรียงตัวในแนว NS ตามสนามแม่เหล็กโลกในช่วงเวลานั้น เราสามารถทราบถึง inclination และ declination ของสนามแม่เหล็กที่บันทึกโดยสารแม่เหล็กในหิน ก็จะสามารถคำนวณย้อนกลับเป็นค่า latitude และ longitude ของหินนั้น ๆ ในขณะที่เกิดหินได้ เรียกการศึกษานี้ว่า paleomagnetic theory
 
Fig. 45.2 Polar wandering in recent period.
 
Fig. 45.3 Polar wandering in the past period.

ที่มา

https://www.facebook.com/weerasak.phomthong

รวบรวมข้อมูลและภาพ

www.iok2u.com

-------------------------------------------------

Waiyapot บทความ ไวยพจน์ วรกนก (Waiyapot Worakanok) รวมข้อมูล

-------------------------------------------------

 

 

ขอต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์
www.iok2u.com
แหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อคุณ

เว็บไซต์ www.iok2u.com นี้เกิดมาจาก แรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward โดยมีเป้าหมายเล็ก ๆ ที่กำหนดไว้ว่า ทุกครั้งที่เข้าเรียนสัมมนาหรืออบรมในแต่ละครั้ง จะนำความรู้มาจัดทำเป็นบทความอย่างน้อย 3 เรื่อง เพื่อมาลงในเว็บนี้
ความตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับมาทำการถ่ายทอดต่อไป และหวังว่าจะมีคนมาอ่านแล้วเห็นว่ามีประโยชน์นำเอาไปใช้ได้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลย โดยอาจไม่ต้องอ้างอิงที่มาหรือมาตอบแทนผู้จัด แต่ขอให้ส่งต่อหากคิดว่ามันดีหรือมีประโยชน์ เพื่อถ่ายทอดความรู้และสิ่งดี ๆ ต่อไปข้างหน้าต่อไป Pay It Forward