Waiyapot ep056 The greater banded iron formation (BIF) แหล่งแร่แถบชั้นเหล็ก
1. Algoma เกิดในมหายุค Neo Archean (3.5-2.45 Ga.) หินบริเวณเป็น orogenic greenstone belts มีขนาดเล็กความหนาไม่เกิน 100 m. กว้างและยาวไม่เกิน 50 m. แหล่งแร่ได้แก่ the Abitibi greenstone belts, the greenstone belts of the Yilgarn and Pilbara cratons, the Baltic shield, และ the cratons of the Amazon, north China, and south and west Africa
2. Lake Superior เกิดในมหายุค Paleo-Meso Proterozoic (2.5-1.9 Ga.) ในพื้นที่ทะเลตื้นไหล่ทวีป มีขนาดใหญ่ หนา > 100 m. กว้าง ยาว 10-100 km. แหล่งแร่สำคัญได้แก่ the Hamersley Range มีการสะสมตัวระหว่าง 2470 to 2450 Ma มี maximum thickness มากกว่า 900 meters (3,000 feet) นอกจากนี้ยังพบที่ the Carajás Formation of the Amazon craton, the Cauê Itabirite of the São Francisco craton, the Kuruman Iron Formation และ Penge Iron Formation of South Africa, และ the Mulaingiri Formation of India และยังพบระหว่างช่วงอายุ 2,400 and 1,800 Ma.ใน the Canadian Shield เช่น the Mesabi Range, the Vermilion Range, the Gunflint Range, และ the Cuyuna Range.
3. Rapitan Group เกิดในมหายุค Neo Proterozoic (1.0-0.8 Ga) ในพื้นที่ทะเลตื้นไหล่ทวีป ในยุคที่เกิดมหาทวีป Rodinia ในยุคน้ำแข็ง ที่มีทะเลตื้นไหล่ทวีปที่กว้างขวาง และมี O2 จำนวนมาก (2nd GOE, great oxygen event) แหล่งแร่มีขนาดค่อนข้างเล็ก หนา <100 m. กว้าง ยาว หลายสิบกิโลเมตร แหล่งสำคัญเช่น Rapitan in the Yukon, the Urucum in Brazil, and the Damara Belt in southern Africa.
.
ที่มา
- https://www.facebook.com/weerasak.phomthong
รวบรวมข้อมูลและภาพ
-------------------------------------------------
บทความ ไวยพจน์ วรกนก (Waiyapot Worakanok) รวมข้อมูล
รวมบทความที่น่าสนใจจากนักธรณีวิทยาของไทย-------------------------------------------------
Fig. 56.2 BIF distribution in world’s map.
Fig. 56.3 BIF in the Rapitan Group Neo Proterozoic
Fig. 56.4 Grade and Tonnage of BIF deposits.