iok2u.com แหล่งรวมข้อมูลข่าวสารเรื่องราวน่าสนใจเพื่อการศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนรู้

มิสเตอร์เรน (Mr. Rain) และมิสเตอร์เชน (Mr. Chain)
Mr. Rain และ Mr. Chain สองพี่น้องในโลกออฟไลน์และออนไลน์ที่จะมาร่วมมือกันสร้างสื่อสารสนเทศ เพื่อเผยแพร่ให้ความรู้ในเรื่องราวต่างๆ มากมายสร้างสังคมในการเรียนรู้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา
ยืนหยัด เข้มแข็ง และกล้าหาญ (Stay Strong & Be Brave)
ขอเป็นกำลังใจให้คนดีทุกคนในการต่อสู้ความอยุติธรรม ในยุคสังคมที่คดโกงยึดถึงประโยชน์ส่วนตนและพวกฟ้องมากกว่าผลประโยชน์ส่วนรวม จนหลายคนคิดว่าพวกด้านได้อายอดมักได้ดี แต่หากยึดคำในหลวงสอนไว้ในเรื่องการทำความดีเราจะมีความสุขครับ
Pay It Forward เป้าหมายเล็ก ๆ ในการส่งมอบความดีต่อ ๆ ไป
เว็ปไซต์นี้เกิดจากแรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward ที่เล่าถึงการมีเป้าหมายเล็ก ๆ กำหนดไว้ให้ส่งมอบความดีต่อไปอีก 3 คน หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา อยากให้ส่งต่อเพื่อถ่ายทอดต่อไป
รูปแบบในข้อกําหนดในการส่งมอบสินค้า (International Commercial Terms, Incoterms) 
 

 

ข้อกําหนดในการส่งมอบสินค้า (International Commercial Terms, Incoterms) เป็นเงื่อนไขการส่งมอบสินค้ ากำหนดเป็นมาตรฐานการค้าที่ใช้ตกลงในการทำสั ญญาซื้อขาย ระหว่างผู้ซื้อกั บผู้ขายที่เป็นสากล ได้รับการดูแลและคุ้มครองโด ยสภาหอการค้านานาชาติ (ICC: International Chamber of Commerce) ซึ่งยึดติดกับการค้าสหประชา ชาติหลัก เพื่อให้คู่ค้าทั้งผู้ซื้อและผู้ขายทราบถึงขอบเขตความ รับผิดชอบภาระค่าใช้จ่ายและความเสี่ยง โดยช่วยให้ทั้งสองฝ่ายที่มี ความแตกต่างทางวัฒนธรรมมีคว ามเข้าใจตรงกัน INCOTERM มีทั้งหมด 4 กลุ่ม 13 รูปแบบได้แก่
1. E: Departure 
EXW - Ex Works เงื่อนไข การส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งม อบสินค้า เมื่อผู้ขายได้เตรียมสินค้า ไว้พร้อมสำหรับส่งมอบให้กับ ผู้ซื้อ ณ สถานที่ของผู้ขาย 
2. F: Main Carriage Unpaid
FCA - Free Carrier เงื่อนไข การส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งม อบสินค้า เมื่อผู้ขายได้ส่งมอบสินค้า ให้กับผู้รับขนส่งที่ระบุโด ยผู้ซื้อ ณ สถานที่ของผู้รับขนส่ง ที่ผู้ขายต้องทําพิธีการส่ง ออกรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในกา รขนส่งสินค้า และความเสี่ยงภัยระหว่างการ ขนส่งจากสถานที่ของผู้ขาย จนกระทั่งถึงสถานที่ของผู้ร ับขนส่ง ส่วนค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการขนสินค้าและความเสี่ยง ภัยต่างๆ ไปยังจุดหมายปลายทางเป็นของ ผู้ซื้อ 
FAS - Free Alongside Ship เงื่อนไข การส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งม อบสินค้า เมื่อผู้ขายได้นําสินค้าไปย ังกาบเรือ ณ ท่าเรือต้นทางที่ระบุไว้ ส่วนค่าใช้จ่ายในการนำของขึ ้นเรือ ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า  ความเสี่ยงภัยในการนำของขึ้ นเรือ และระหว่างการขนส่งเป็นภาระ ของผู้ซื้อในทันทีที่สินค้า ถูกส่งมอบไปยังกาบเรือ และผู้ซื้อต้องรับผิดชอบการ ทําพิธีการส่งออกด้วย
FOB - Free On Board เงื่อนไข การส่งมอบนี้ ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการส่งม อบสินค้า เมื่อผู้ขายได้ส่งมอบสินค้า ข้ามกาบเรือขึ้นไปบนเรือสิน ค้า ณ ท่าเรือต้นทางที่ระบุไว้ ผู้ขายเป็นผู้รับผิดชอบการท ําพิธีการส่งออกด้วย ส่วนค่าใช้จ่ายในการขนส่งสิ นค้า และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวมทั้งความเสี่ยงภัยในการข นส่งสินค้าเป็นภาระของผู้ซื ้อในทันทีที่ของผ่านกาบระวา งเรือไปแล้ว
3. C: Main Carriage Paid
CFR (Cost and Freight) เช่นเดียวกันกับ FOB ข้างบน หากแต่ว่าผู้ขายต้องชำระค่า ระวางในการขนส่งทางเรือด้วย  มีข้อที่น่าสังเกตคือ ถึงแม้ผู้ขายจะต้องรับภาระเ รื่องค่าระวางถึงปลายทางก็ต าม แต่ ความเสี่ยงของฝ่ายผู้ขายนี้ จะอยู่แค่กราบเรือที่ต้นทาง  เหมือนกับกรณีของ FOB เท่านั้นเอง ว่าอีกอย่างหนึ่ง Cost (ค่าใช้จ่าย) ของผู้ขายไปถึงท่าปลายทาง (เสียค่าระวาง) แต่ Risk (ความเสี่ยง) ของผู้ขายจะสิ้นสุดที่กราบเ รือเท่านั้นเอง ถ้าเป็นการส่งสินค้าโดยมิได ้มียกของข้ามกราบเรือ จะต้องใช้เงื่อนไข CPT ซึ่งจะกล่าวต่อไป
CIF (Cost Insurance and Freight) เช่นเดียวกับ CFR ทุกประการ เพียงแต่เพิ่มให้ผู้ขายต้อง จัดการเอาประกันภัยให้กับสิ นค้าที่ขนส่ง ด้วยการชำระเบี้ยประกันจนถึ งปลายทางด้วยเท่านั้น และ ต้องไม่ลืมว่าความเสี่ยงของ ผู้ขายจะมีถึงจุดเหนือกราบเ รือ เช่นเดียวกับเงื่อนไข FOB หรือ CFR เท่านั้น เลยไปแล้วเป็นเรื่องของผู้ซ ื้อ
CPT (Carriage Paid) เป็น term ใหม่ ใช้มาตั้งแต่ Incoterms 1990 สำหรับการขนส่งทุกรูปแบบ รวมทั้ง multimodal transport ด้วย มีความหมายใกล้เคียงกันกับ CFR ซึ่งให้ใช้แต่เฉพาะการขนส่ง ทางเรือนั่นเอง แต่สำหรับเงื่อนไข CPT นี้ ผู้ขายต้องส่งมอบสินค้าให้ก ับผู้รับขนส่ง (Carrier) ณ สถานที่รับของ ไม่ต้องส่งของขึ้นเรือ
CIP (Carriage and Insurance Paid to) เช่นเดียวกับ CPT ทุกประการ แต่เพิ่มภาระให้ผู้ขายต้องเ อาประกันภัยด้วย ถ้าจะว่าไปแล้ว ความหมายของ CIP ก็ใกล้เคียงกับ CIF จะต่างกันก็ตรงที่ CIP ใช้ได้กับการขนส่งทุกรูปแบบ  ตลอดจน multimodal transport แต่ CIF ใช้กับการขนส่งทางเรือเท่าน ั้น
4. D: Arrival
DAF (Delivered At Frontier) สำหรับการขนส่งสินค้าโดยผู้ ขายไปจนถึงพรมแดนของประเทศโ ดยผ่านด่านศุลกากรขาออกของ ประเทศผู้ขายไปแล้ว แต่ยังไม่ผ่านด่านศุลกากรขา เข้าของประเทศผู้ซื้อ ค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงเป็ นของผู้ขายไปถึงจุดที่ว่านั ้น ณ พรมแดน ทั้งนี้ เว้นจะตกลงกันเป็นอย่างอื่น
DES (Delivered Ex Ship) ผู้ขายต้องรับภาระค่าใช้จ่า ยและความเสี่ยง จนกระทั่งเรือไปถึงและเทียบ ท่าปลายทางความรับผิดชอบนี้ จะจำกัดอยู่แค่นั้น โดยสินค้ายังอยู่บนเรือ สำหรับการขนของลงจากเรือและ ค่าใช้จ่ายตลอดจนความเสี่ยง อื่น ๆ ที่ตามมา เป็นเรื่องของผู้ซื้อแต่ลำพ ังเพียงผู้เดียว
DEQ (Delivered Ex Quay) เหมือนกันกับ DES ข้างบน หากแต่ผู้ขายต้องขนส่งสินค้ าลงที่หน้าท่าให้ด้วย ต่อจากนั้นจึงเป็นภาระของผู ้ซื้อ ค่าอากรขาเข้าและภาระในการข อใบอนุญาตนำเข้า (ถ้าจำเป็นต้องมี) ผู้ซื้อ ต้องจัดการเอง เงื่อนไขนี้ เดิมใน Incoterms 1990 ผู้ขายหรือผู้ซื้อฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายใดจะจ่ายก็ได้ แล้วแต่จะตกลงกัน (แต่ปกติแล้วผู้ขายต้องจ่าย ) คราวนี้เปลี่ยนเป็นให้ผู้ซื ้อจ่ายอย่างเดียว
DDU (Delivery Duty Unpaid) ผู้ขายจะต้องขนส่งสินค้าไปจ นถึงสถานที่ที่ผู้ซื้อกำหนด ในประเทศปลายทาง เช่นให้ส่งที่คลังสินค้าของ ผู้ซื้อไม่ว่าจะตั้งอยู่ที่ ไหน ในประเทศปลายทางดังกล่าว แต่ถ้าตกลงกันว่าให้ส่งมอบส ินค้าในบริเวณท่า เรือปลายทางก็ควรใช้เงื่อนไ ข DES หรือ DEQ แทน ในการนี้ผู้ขายจะจัดการขนส่ งสินค้าไปจนถึงสถานที่ที่จะ ส่งมอบ แต่เป็นหน้าที่ของผู้ซื้อที ่จะต้องจัดการขนสินค้าดังกล ่าวลงจากยานพาหนะ ที่ไปส่งสินค้าเอง อย่างไรก็ตาม ทางฝ่ายผู้ซื้อต้องชำระค่าอ ากรขาเข้าตลอดจนภาษีอื่น ๆ ของประเทศที่นำสินค้าเข้าเอ งด้วย
DDP (Delivery Duty Paid) ผู้ขายต้องรับภาระสูงสุด (และราคาก็สูงสุดเหมือนกัน)  เพราะฝ่ายผู้ซื้อไม่ต้องทำอ ะไรและไม่ต้องจ่ายค่า อากรขาเข้าด้วย เป็นหน้าที่ของผู้ขายที่จะต ้องเหมาหมด การขนสินค้าลงจากยานพาหนะ ที่ไปส่งก็เป็นหน้าที่ของผู ้ซื้อเช่นเดียวกัน กับภายใต้เงื่อนไข DDUและถ้าตกลงจะส่งมอบกันใน บริเวณท่าเรือ ก็ให้ใช้เงื่อนไข DES หรือ DEQ แทนเหมือนกันกับกรณี DDU ที่กล่าวแล้ว ภายใต้เงื่อนไข DDP นี้ ราคาสินค้าต่อหน่วยจะแพงที่ สุด เพราะผู้ขายต้องรับภาระทุกอ ย่าง

.

ที่มา

รวมรวมข้อมูลภาพ

- www.iok2u.com

-------------------------------------

การบริหารจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management)

-------------------------------------

ขอต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์
www.iok2u.com
แหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อคุณ

เว็บไซต์ www.iok2u.com นี้เกิดมาจาก แรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward โดยมีเป้าหมายเล็ก ๆ ที่กำหนดไว้ว่า ทุกครั้งที่เข้าเรียนสัมมนาหรืออบรมในแต่ละครั้ง จะนำความรู้มาจัดทำเป็นบทความอย่างน้อย 3 เรื่อง เพื่อมาลงในเว็บนี้
ความตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับมาทำการถ่ายทอดต่อไป และหวังว่าจะมีคนมาอ่านแล้วเห็นว่ามีประโยชน์นำเอาไปใช้ได้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลย โดยอาจไม่ต้องอ้างอิงที่มาหรือมาตอบแทนผู้จัด แต่ขอให้ส่งต่อหากคิดว่ามันดีหรือมีประโยชน์ เพื่อถ่ายทอดความรู้และสิ่งดี ๆ ต่อไปข้างหน้าต่อไป Pay It Forward