iok2u.com แหล่งรวมข้อมูลข่าวสารเรื่องราวน่าสนใจเพื่อการศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนรู้

มิสเตอร์เรน (Mr. Rain) และมิสเตอร์เชน (Mr. Chain)
Mr. Rain และ Mr. Chain สองพี่น้องในโลกออฟไลน์และออนไลน์ที่จะมาร่วมมือกันสร้างสื่อสารสนเทศ เพื่อเผยแพร่ให้ความรู้ในเรื่องราวต่างๆ มากมายสร้างสังคมในการเรียนรู้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา
ยืนหยัด เข้มแข็ง และกล้าหาญ (Stay Strong & Be Brave)
ขอเป็นกำลังใจให้คนดีทุกคนในการต่อสู้ความอยุติธรรม ในยุคสังคมที่คดโกงยึดถึงประโยชน์ส่วนตนและพวกฟ้องมากกว่าผลประโยชน์ส่วนรวม จนหลายคนคิดว่าพวกด้านได้อายอดมักได้ดี แต่หากยึดคำในหลวงสอนไว้ในเรื่องการทำความดีเราจะมีความสุขครับ
Pay It Forward เป้าหมายเล็ก ๆ ในการส่งมอบความดีต่อ ๆ ไป
เว็ปไซต์นี้เกิดจากแรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward ที่เล่าถึงการมีเป้าหมายเล็ก ๆ กำหนดไว้ให้ส่งมอบความดีต่อไปอีก 3 คน หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา อยากให้ส่งต่อเพื่อถ่ายทอดต่อไป

LM57 โลจิสติกส์ (logistics) ความหมาย

โลจิสติกส์ (logistics) เป็นระบบการจัดการการส่งสินค้า ข้อมูล และทรัพยากร จากจุดต้นทางแหล่งกำเนิดผู้ผลิตไปยังจุดต่าง ๆ ตามความต้องการของลูกค้า โลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการด้าน ข้อมูล การขนส่ง การบริหารวัสดุคงคลัง การจัดการวัตถุดิบ การบรรจุหีบห่อ โลจิสติกส์เป็นช่องทางหนึ่งของห่วงโซ่อุปทาน ที่ช่วยเพิ่มมูลค่าของห่วงโซ่อุปทาน โดยการใช้ประโยชน์ของเวลาและสถานที่ในการสร้างมูลค่าเพิ่ม

โลจิสติกส์ (logistics) มาจากภาษาฝรั่งเศสคำว่า logistique ที่มีรากศัพท์มาจากคำว่า โลเชอร์ (loger) ที่หมายถึงการเก็บ โดยมีจุดเริ่มต้นมาจากการขนส่งสินค้าทางการทหารในการส่งกำลังบำรุง ทั้งเสบียง อาวุธ กำลังพล เพื่อสนับสนุนการรบ หรือกิจกรรมที่มีการเคลื่อนย้ายจัดเก็บจากอีกที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง อาจมีการจัดเก็บระยะเวลานานหรือระยะเวลาชั่วคราวเช่น เอกสาร สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบ และอื่นๆ

โลจิสติกส์ (Logistics) ถูกนำมาใช้ในการทหารเป็นหลักโดยตามความหมายเดิม หมายถึง การส่งกำลังบำรุงหรือพลาธิการ แต่ในปัจจุบันได้มีการขยายขอบเขตองค์ ความรู้ด้านโลจิสติกส์มาใช้ในการดำเนินธุรกิจมากขึ้น โดยคำส่า โลจิสติกส์ จากการกำหนดนิยามโดย Council of Logistics Management, USA ในปี 1998 ซึ่งให้คำนิยามโลจิสติกส์ไว้ว่า เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการในห่วงโซ่อุปทานในการวางแผน การประยุกต์ใช้ และการควบคุมประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการไหล และการจัดเก็บสินค้า บริหารและสัมพันธ์กับ ข้อมูลจากจุดเริ่มต้นของการบริโภคที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า

โลจิสติกส์ (logistics) ความหมายตามคำนิยามของ The Council of Logistics Management คือ กระบวนการวางแผนการดำเนินงาน การควบคุมการเคลื่อนย้ายทั้งไปและกลับ การเก็บรักษาสินค้า บริการ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการผลิตไปสู่จุดสุดท้ายของการบริโภคเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไต้จำแนก ระดับการพัฒนาระบบโสจิสติกส์ของประเทศต่าง ๆ ไว้ 4 ระดับ ตังนี้

1. การกระจายสินค้า (Physical Distribution) เป็นระดับการพัฒนาที่มุ่งเน้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนในการขนส่งสินด้สำเร็จรูปจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ซึ่งจะครอบคลุมกิจกรรมต่าง ๆ ไต้แก่ การขนส่ง (Transportation) การจัตเก็บสินค้า (Warehousing) การจัดการวัสดุ (Supply Management) และการบรรจุภัณฑ์ (Packaging) โตยในระดับนี้จะยังไม่มุ่งเน้นการพัฒนาในส่วนที่เป็นสินาคงคลังที่เป็นวัตถุติบ (Raw Material) และสินค้าระหว่างผสิต (Work in Process)

2. การบูรณาการโลจิสติกส์ภายใน (Internally Integrated Logistics) เป็นระดับการพัฒนาที่บูรณาการกิจกรรมโลจิสติกส์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนกระบวนการผลิต (Production) โดยจะบูรณาการการจัดการภายในบริษัท ตั้งแต่กิจกรรมการวางแผนผลิตการจัดซื้อวัตถุติบจนถึงการกระจายสินค้าส่งถึงผู้บริโภค เพื่อเพิ่มความถี่หรือความสามารถในการระบายสินค้าอันจะส่งผสทำให้ปริมาณสินค้าคงคลังลตลงไต้ การพัฒนาในระดับนี้จำเป็นต้องใช้ระบบเทคโนโลยีสารนเทศและระบบซอฟท์แวร์ช่วยในการบริหารจัดการกิจกรรมทั้งระบบด้วย

3. การบูรณาการโลจิสติกส์ภายนอก (Externally Integrated Logistics) เป็นระดับการพัฒนาที่มีการบูรณาการการขนส่งทุกรูปแบบ (Mode) อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การกำหนดให้มีจุดขนถ่ายสินค้าที่ไต้มาตรฐาน รวมถึงนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบูรณาการข้อมูลระหว่างบริษัทคู่ค้า (Partner) นอกจากนี้ยังมีการไซับริการจากผู้ให้บริการโลจิสติกส์ (Third Party Logistics Provider) เฉพาะด้านด้วย

4. การจัตการโลจิสติกส์ข้ามชาติ (Global Logistics Management) เป็นระดับการพัฒนาที่เกิตจากบริษัทข้ามชาติ ซึ่งหาทางแก้ปัญหาเรื่องตันทุนในประเทศ ดังนั้นจึงเริ่มหาแหล่งวัตถุติบหรือแรงงานที่มีต้นทุนต่ำกว่าในต่างประเทศ ลักษณะของการพัฒนาระดับนี้ ได้แก่ การจัดหาแหล่งวัตถุติบและแรงงาน รวมถึงจัดส่งสินค้าครอบคลุมไปทุกแหล่งทั่วโลก ด้านการขนส่งจะมีการเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างประเทศที่มีประสิทธิภาพด้วยการบริการจัดการ การขนส่งในรูปแบบต่าง ๆ รวมไปถึงการส่งเสริมการส่งสินค้าผ่านแดน นอกจากนี้ยังมีการให้ความสำคัญกับผลกระทบของการขนส่งต่อสิ่งแวตล้อมและความปลอดภัยต้นการขนส่ง ต้นเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายภายในและระหว่างประเทศ และมีการพึ่งพาผู้ให้บริการโลจิสดิกส์ระหว่างประเทศด้วย

กิจกรรมต้านโลจิสติกส์ นับว่าเป็นกิจกรรมสนับสนุนการตำเนินการภายในทุกองค์กร ซึ่งเพื่อมโยงทุกหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กรทั้งต้านอุปสงค์ และอุปทานโดยกิจกรรมหลักต้านโลจิสติกส์ (Key Logistics Activities) สามารถจำแนกได้ 9 กิจกรรม ตามข้อมูลจาก สำนักโลจิสติกส์กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ดังนี้

1. การให้บริการลูกค้ำและกิจกรรมสนับสนุนต่าง ๆ

2. การวางแผนจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบ อุปกรณ์ต่าง ๆ

3. การสื่อสารต้นโลจิสติกส์และกระบวนการสั่งซื้อ

4. การตำเนินการ ผลิต บรรจุ และขนส่ง

5. การเสื่อกสถานที่ตั้งของโรงงานและคลังสินค้า

6. การวางแผนกำลังการผลิต และการคาดการณ์ปริมาณความต้องการของลูกค้า

7. การับริหารจัตการสินค้าคงคลัง

8. การบริหารการจัตเก็บ การรวบรวม การกระจายสินค้า และบรรจุหีบห่อ

9. กระบวนการโลจิสติกส์ย้อนกลับ

-----------------------------------------------

ดูข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่อง พื้นฐานการจัดการโลจิสติกส์ คลิกที่นี่

LM57 พื้นฐานการจัดการโลจิสติกส์ (Fundamentals of Logistics Management) ปี 2557

-----------------------------------------------

ขอต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์
www.iok2u.com
แหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อคุณ

เว็บไซต์ www.iok2u.com นี้เกิดมาจาก แรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward โดยมีเป้าหมายเล็ก ๆ ที่กำหนดไว้ว่า ทุกครั้งที่เข้าเรียนสัมมนาหรืออบรมในแต่ละครั้ง จะนำความรู้มาจัดทำเป็นบทความอย่างน้อย 3 เรื่อง เพื่อมาลงในเว็บนี้
ความตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับมาทำการถ่ายทอดต่อไป และหวังว่าจะมีคนมาอ่านแล้วเห็นว่ามีประโยชน์นำเอาไปใช้ได้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลย โดยอาจไม่ต้องอ้างอิงที่มาหรือมาตอบแทนผู้จัด แต่ขอให้ส่งต่อหากคิดว่ามันดีหรือมีประโยชน์ เพื่อถ่ายทอดความรู้และสิ่งดี ๆ ต่อไปข้างหน้าต่อไป Pay It Forward