ดัชนีการชี้วัดปร
ดัชนีการชี้วัดปร
1 การวางแผนหรือการคาดการความต้องการของลูกค้า (Forecasting and Planning)
2 การให้บริการลูกค้าและกิจกรรมสนับสนุน (Customer Service and Supporting)
3 การสื่อสารด้านโลจิสติกส์และการจัดการคำสั่งซื้อ (Communication and Order Processing)
4 การจัดซื้อจัดหา (Purchasing and Procurement)
5 การขนถ่ายวัสดุและการบรรจุหีบห่อ (Materials Handling and Packaging)
6 การเลือกสถานที่ตั้งของโรงงานและการจัดการคลังสินค้า (Site Selection Facilities and Warehousing)
7 การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
8 การขนส่ง (Transportation)
9 โลจิสติกส์ย้อนกลับ (Reverse Logistics)
โดยแยกออกเป็น 3 มิติ คือ ด้านต้นทุน ด้านเวลา และด้านความน่าเชื่อถือ โดยมองลึกเข้าไปในแต่ละกิจกรรมที่เกิดขึ้นในกระบวนการโลจิสติกส์ รวมจำนวน 27 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรม จะทำให้ผู้ประกอบการทราบถึง ต้นทุนแฝงซึ่งไม่ได้ถูกจ่ายออกไปเป็นตัวเงินจริง แต่เป็นต้นทุนที่ทำให้เราเสียโอกาสทางการแข่งขันกับตลาด เวลาที่สูญเสียโดยไปในแต่ละกิจกรรม ซึ่งอาจจะมากกว่าเวลาที่ได้ประมาณการไว้ ทำให้สามารถตอบสนองความน่าเชื่อถือให้ลูกค้าเห็นเป็นรูปธรรม มีหลักเกณฑ์ในการวัดที่สามารถเห็นผลได้ และนำผลที่ได้ไปสู่การปรับปรุงที่ตรงจุด ชี้แจงและแสดงให้ผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการเองเห็นได้ถึงความไม่สมบูรณ์ของงาน อันจะนำไปสู่การบูรณาการและร่วมกันในการหาทางแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาองค์กรต่อไป
-------------------------------------------------
lpi ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพโลจิสติกส์ (Logistics Performance Index: LPI) รวมข้อมูล
-------------------------------------------------