ระบบเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy)
ระบบเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy)
มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาที่สมดุลทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
อุตสาหกรรมเป้าหมาย : ทุกอุตสาหกรรม โดยคาดว่าจะมีเป้าหมายการขับเคลื่อน
- ปี 2565 60% Green Industry ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1.22 ล้านตัน CO2 เทียบเท่า
- ปี 2567 90% Green Industry ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1.70 ล้านตัน CO2 เทียบเท่า
- ปี 2570 100% Green Industry และมากกว่า 50% ได้รับ Green Industry ระดับ 3 ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2.30 ล้านตัน CO2 เทียบเท่า
กลไกการขับเคลื่อน Green Economy
1. การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม จาก Smart Factory และ Electric Vehicle
2. เงินทุน สิทธิประโยชน์และรางวัล ได้รับ -รางวัล Prime Minister’s Award ด้านการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ด้านความรับผิดต่อสังคม ด้านบริหารความปลอดภัย
- สิทธิประโยชน์ผู้ได้รับ Green Industry ระดับ 4-5
- รางวัล Access to Finance Program by SME D Bank
3. การพัฒนากำลังคนและความสามารถ จาก Third Party การพัฒนาบุคลากรภาครัฐ/เอกชน และการสร้างเครือข่ายภาคประชาชน
4. บ่มเพาะ สร้าง และยกระดับผู้ประกอบการและรูปแบบธุรกิจใหม่ จาก Green Industry , Eco-industrial Estate/Town , CSR-DIW , CSR-DPIM
5. มาตรฐาน กฎหมาย กฎระเบียบที่เอื้อต่อการพัฒนา BCG
- มาตรฐานผลิตภัณฑ์
- มาตรฐานระบบ
- พ.ร.บ.โรงงาน
6. การสร้างและพัฒนาตลาด ด้วยการแพลตฟอร์มตลาดอุตสาหกรรมออนไลน์
ที่มา https://www.bcg.in.th
ภาพและรวบรวมโดย www.iok2u.com
-------------------------------------------------
โมเดลเศรษฐกิจ BCG (BCG Economy Model)
-------------------------------------------------
ชมอัลปั้มภาพเพิ่มเติมที่ |
โมเดลเศรษฐกิจ BCG (BCG Economy Model) https://photos.app.goo.gl/iEZ4uGnbzut7Nr8b9 |
ที่มาข้อมูล
รวบรวมรูปภาพ www.iok2u.com
-----------------------------------------
BCG Model ของกระทรวงอุตสาหกรรม