- ชื่อหนังสือ คู่มือการประเมินประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ เกณฑ์ตัวชี้วัดมาตรฐานสำหรับผู้ประกอบการ (ILPI) ปี 2556
- ผู้จัดทำ สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ และ บริษัท เอ็มดิก โฮลดิ้ง จำกัด
- ข้อมูลหนังสือ
คู่มือการจัดทำตัวชี้วัดประสิทธิภาพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน จัดทกขึ้นเพื่อใช้ใน โครงการศูนย์บริการข้อมูลโลจิสติกส์ โดยจะเน้นในการส่งเสริมการประเมินค่าดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพในงานด้านโลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรม (Industrial Logistics Performance Index; ILPI) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรในงานภาคอุตสาหกรรม ให้สามารถรู้แนวคิดและหลักวิธีการประเมินตัวเอง เพื่อใช้ในการบริหารจัดการภายในองค์กร โดยนำเอาทั้ง 9 กิจกรรม ภายในองค์กร มาประเมินใน 3 มิติ ซึ่งจะช่วยให้สามารถวิเคราะห์และประเมินองค์กรได้ในระดับเมทริกซ์
- สารบัญ
บทที่ 1 ความสำคัญของการประเมินประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์
บทที่ 2 การประเมินประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์
2.1 แบบประเมินประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ ตัวชี้วัดหลัก
(1) ตัวชี้วัดหลักด้านการบริหารต้นทุน
(2) ตัวชี้วัดหลักด้านเวลา
(3) ตัวชี้วัดหลักด้านความน่าเชื่อถือ
2.2 แบบประเมินประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ ตัวชี้วัดสนับสนุน
(1) ตัวชี้วัดสนับสนุนด้านการบริหารต้นทุน
(2) ตัวชี้วัดสนับสนุนด้านเวลา
(3) ตัวชี้วัดสนับสนุนด้านความน่าเชื่อถือ
บทที่ 3 การประเมินประสิทธิภาพด้านซัพพลายเชน
3.1 แบบประเมินประสิทธิภาพด้านซัพพลายเชน
(1) สมรรถนะด้านความน่าไว้วางใจ
(2) สมรรถนะด้านการตอบสนอง
(3) สมรรถนะด้านความยืดหยุ่น
(4) สมรรถนะด้านต้นทุน
(5) สมรรถนะด้านทรัพย์สิน
----------------------------------------------------
-------------------------------------------------
LPI ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพโลจิสติกส์ (Logistics Performance Index: LPI) รวมข้อมูล
-------------------------------------------------