ชื่อหนังสือ คู่มือการประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรม (ILPI) และการประเมินประสิทธิภาพซัพพลายเชน (SCPI) ปี 2555
ผู้จัดทำ สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ และ บริษัท เอ็มดิก โฮลดิ้ง จำกัด
ข้อมูล
คู่มือการประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรม (ILPI) และการประเมินประสิทธิภาพซัพพลายเชน (SCPI) เน้นในการส่งเสริมการประเมินค่าดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพในงานด้านโลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรม (Industrial Logistics Performance Index; ILPI) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรในงานภาคอุตสาหกรรม ให้สามารถรู้แนวคิดและหลักวิธีการประเมินตัวเอง เพื่อใช้ในการบริหารจัดการภายในองค์กร โดยนำเอาทั้ง 9 กิจกรรม ภายในองค์กรมาประเมินใน 3 มิติ ซึ่งจะช่วยให้สามารถวิเคราะห์และประเมินองค์กรได้ในระดับเมทริกซ์
สารบัญ
บทที่ 1 : ความสําคัญของการประเมินประสิทธิภาพโลจิสติกส์
1.1 ที่มาและความสําคัญ
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ผลที่คาดว่าผู้เกี่ยวข้องจะได้รับ
1.4 ตัวชี้วัดประสิทธิภาพโลจิสติกส์
1.5 ตัวชี้วัดประสิทธิภาพซัพพลายเชน
1.6 ค่าเกณฑ์ของกลุ่มอุตสาหกรรม
บทที่ 2 : ตัวชี้วัดประสิทธิภาพโลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรม
2.1 กิจกรรมท 1 การวางแผนหรือการคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า
2.2 กิจกรรมท 2 การให้บริการแก่ลูกค้าและกิจกรรมสนับสนุน
2.3 กิจกรรมท 3 การสื่อสารด้านโลจิสติกส์และการจัดการคําสั่งซื้อ
2.4 กิจกรรมท 4 การจัดซื้อจัดหา
2.5 กิจกรรมท 5 การขนถ่ายวัสดุและการบรรจุหีบห่อ
2.6 กิจกรรมท 6 การเลือกสถานที่ตั้งของโรงงานและการจัดการคลังสินค้า
2.7 กิจกรรมท 7 การบริหารสินค้าคงคลัง
2.8 กิจกรรมท 8 การขนส่ง
2.9 กิจกรรมท 9 โลจิสติกส์ยอนกลับ
บทที่ 3 ตัวชี้วัดประสิทธิภาพซัพพลายเชน
3.1 สมรรถนะด้านความน่าไว้วางใจ
3.2 สมรรถนะด้านการตอบสนอง
3.3 สมรรถนะด้านความยืดหยุ่น
3.4 สมรรถนะด้านต้นทุน
3.5 สมรรถนะด้านทรัพย์สิน
บทที่ 4 การเตรียมความพร้อมและขั้นตอนการแนะนําสถานประกอบการของที่ปรึกษาและสถานประกอบการ
4.1 การเตรียมตัวของที่ปรึกษา ก่อนเข้าแนะนํา ณ สถานประกอบการ
4.2 การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ ในการขอใช้บริการที่ปรึกษาแนะนํา
4.3 การเข้าแนะนําเพื่อจัดทําตัวชี้วัดประสิทธิภาพโลจิสติกส์
4.4 ขอบเขตในการดําเนินงานของที่ปรึกษา
4.5 การแนะนําสถานประกอบการเพื่อประเมินประสิทธิภาพซัพพลายเชน
4.6 การสอบถามหรือต้องการแจ้งข้อมูลต่างๆ
บทที่ 5: การเตรียมความพร้อมและขั้นตอนการแนะนําสถานประกอบการของที่ปรึกษาและสถานประกอบการ
5.1 กระบวนการทํางานของเว็บไซต์ www.ilscic.org
5.2 การเริ่มต้นใช้งาน และเข้าสู่ระบบ ONLINE
5.3 การจัดทําตัวชี้วัดประสิทธิภาพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
5.4 การแสดงผลการจัดทําตัวชี้วัดประสิทธิภาพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
5.5 รายงานผลการจัดทําตัวชี้วัดของสถานประกอบการ
5.6 การมอบสทธิ ิ์ตามความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน
บทที่ 6: Best Practices
6.1 กิจกรรมท 1 (ILPI1) การวางแผนหรือการคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า
6.2 กิจกรรมท 2 (ILPI2) การให้บริการแก่ลูกค้าและกิจกรรมสนับสนุน
6.3 กิจกรรมท 3 (ILPI3) การสื่อสารด้านโลจิสติกส์และการจัดการคําสั่งซื้อ
6.4 กิจกรรมท 4 (ILPI4) การจัดซื้อจัดหา
6.5 กิจกรรมท 5 (ILPI5) การขนถ่ายวัสดุและการบรรจุหีบห่อ
6.6 กิจกรรมท 6 (ILPI6) การเลือกสถานที่ตั้งของโรงงานและการจัดการคลังสินค้า
6.7 กิจกรรมท 7 (ILPI7) การบริหารสินค้าคงคลัง
6.8 กิจกรรมท 8 (ILPI8) การขนส่ง
6.9 กิจกรรมท 9 (ILPI9) การจัดการโลจิสติกส์ยอนกลับ
บทที่ 7: Lessons Learned
-------------------------------------------------
LPI ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพโลจิสติกส์ (Logistics Performance Index: LPI) รวมข้อมูล
-------------------------------------------------