iok2u.com แหล่งรวมข้อมูลข่าวสารเรื่องราวน่าสนใจเพื่อการศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนรู้

Pay It Forward เป้าหมายเล็ก ๆ ในการส่งมอบความดีต่อ ๆ ไป
เว็ปไซต์นี้เกิดจากแรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward ที่เล่าถึงการมีเป้าหมายเล็ก ๆ กำหนดไว้ให้ส่งมอบความดีต่อไปอีก 3 คน หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา อยากให้ส่งต่อเพื่อถ่ายทอดต่อไป
ยืนหยัด เข้มแข็ง และกล้าหาญ (Stay Strong & Be Brave)
ขอเป็นกำลังใจให้คนดีทุกคนในการต่อสู้ความอยุติธรรม ในยุคสังคมที่คดโกงยึดถึงประโยชน์ส่วนตนและพวกฟ้องมากกว่าผลประโยชน์ส่วนรวม จนหลายคนคิดว่าพวกด้านได้อายอดมักได้ดี แต่หากยึดคำในหลวงสอนไว้ในเรื่องการทำความดีเราจะมีความสุขครับ
มิสเตอร์เรน (Mr. Rain) และมิสเตอร์เชน (Mr. Chain)
Mr. Rain และ Mr. Chain สองพี่น้องในโลกออฟไลน์และออนไลน์ที่จะมาร่วมมือกันสร้างสื่อสารสนเทศ เพื่อเผยแพร่ให้ความรู้ในเรื่องราวต่างๆ มากมายสร้างสังคมในการเรียนรู้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา

Digital Literacy แนวคำถามเพื่อประเมินการพัฒนาการด้านดิจิทัล ของ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technologist)


 

แนวคำถามเพื่อประเมินการพัฒนาการด้านดิจิทัล ของ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technologist) ในองค์กรที่มีพัฒนาการด้านดิจิทัล (ดูคู่มือเพิ่มเติมได้ที่ e-book คู่มือระบบประเมินทักษะดิจิทัลสำหรับข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ (Digital Government)) โดยตัวอย่างคำถามที่ใช้ในแนวประเมิน ประกอบด้วย

Dlit300 : การใช้ดิจิทัลเพื่อการทำงานร่วมกัน

1 คุณสามารถ ทำงานร่วมกันแบบออนไลน์ ได้มากน้อยเพียงใด

2 คุณสามารถ ใช้โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

3 คุณสามารถ ใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย ได้มากน้อยเพียงใด

Dlit400 : การประยุกต์ใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการทำงาน

4 คุณสามารถ ใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการทำงาน ได้มากน้อยเพียงใด

5 คุณสามารถ กำหนดการใช้งานเครื่องมือดิจิทัลอย่างถูกต้อง ได้มากน้อยเพียงใด

Dlit600 : การใช้ข้อมูลระหว่างหน่วยงาน

6 คุณสามารถ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการเชื่อม โยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ได้มากน้อยเพียงใด

7 คุณสามารถ กำหนดวิธีแปลงข้อมูลของหน่วยงานไปสู่รูปแบบมาตรฐาน ได้มากน้อยเพียงใด

8 คุณสามารถ ควบคุมคุณภาพสารสนเทศ (Information Quality) ได้มากน้อยเพียงใด

DG100 : การปฏิบัติตามกฎหมาย กรอบธรรมาภิบาล(Governance Framework) และหลักปฏิบัติ (Principles) ที่ดี ด้านดิจิทัล

9 คุณสามารถ อธิบายกฎหมาย กรอบธรรมาภิบาลและแนวปฏิบัติดิจิทัลที่เกี่ยวข้องได้ ได้มากน้อยเพียงใด

10 คุณสามารถ นำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง ได้มากน้อยเพียงใด

DG300 : การประยุกต์ใช้กรอบการดำเนินงานร่วมกันสำหรับพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Inter-Operability Framework)

11 คุณสามารถ จัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อบูรณาการ (De-Siloed) กระบวนงานและข้อมูลที่แยกส่วน ได้มากน้อยเพียงใด

12 คุณสามารถ จัดทำสถาปัตยกรรมระบบตามกรอบการดำเนินงานร่วมกันสำหรับพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ได้มากน้อยเพียงใด

DG400 : การปฏิบัติตามข้อตกลงระดับการให้บริการและกระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Service Level Agreement; SLA)

13 คุณสามารถ กำหนดระดับการให้บริการดิจิทัลแบบเชื่อมโยง (Seamless Service Integration) ได้มากน้อยเพียงใด

14 คุณสามารถ ติดตาม ประเมินระดับบริการแก่ผู้รับบริการ ได้มากน้อยเพียงใด

DG500 : การบริหารความเสี่ยงดิจิทัล (Digital Risk Management)

15 คุณสามารถ ประเมินความเสี่ยงดิจิทัลในกระบวนการทำงาน (Digital Risk Assessment in Business Process) ได้มากน้อยเพียงใด

16 คุณสามารถ จัดการความเสี่ยงดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

DG600 : การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงานร่วมระหว่างหน่วยงานของรัฐ

17 คุณสามารถ วิเคราะห์กฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการบูรณาการดำเนินงานร่วมกัน ได้มากน้อยเพียงใด

18 คุณสามารถ ประเมินความเป็นไปได้ของการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการ ทำงานร่วมกัน ได้มากน้อยเพียงใด

19 คุณสามารถ เสนอร่างกฎหมายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้มากน้อยเพียงใด

DT100 : การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านสู่องค์กรดิจิทัล

20 คุณสามารถ เลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

21 คุณสามารถ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

22 คุณสามารถ บำรุงรักษาเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีความต่อเนื่อง ได้มากน้อยเพียงใด

DT200 : การจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture) เพื่อรองรับการเปลี่ยนผ่านสู่รัฐบาลดิจิทัล

23 คุณสามารถ ศึกษาองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมองค์กรปัจจุบัน (AS IS) ได้มากน้อยเพียงใด

24 คุณสามารถ จัดทำแบบสถาปัตยกรรมองค์กรเป้าหมาย (TO BE) ได้มากน้อยเพียงใด

DT300 : การกำกับการใช้งานสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture)

25 คุณสามารถ เตรียมการใช้งานสถาปัตยกรรมองค์กร ได้มากน้อยเพียงใด

26 คุณสามารถ ควบคุมการใช้งานสถาปัตยกรรมองค์กร ได้มากน้อยเพียงใด

DT400 : การบริการเทคโนโลยีดิจิทัล

27 คุณสามารถ ให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

28 คุณสามารถ พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับบุคลากรขององค์กร ได้มากน้อยเพียงใด

DT500 : การพัฒนาแผนบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยและความต่อเนื่องการให้บริการแบบดิจิทัล

29 คุณสามารถ จัดการความมั่นคงปลอดภัย ได้มากน้อยเพียงใด

30 คุณสามารถ พัฒนาแผนการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กร ได้มากน้อยเพียงใด

DT600 : การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) เพื่อตีความและหาข้อสรุปที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ

31 คุณสามารถ กำหนดขอบเขตการวิเคราะห์ข้อมูล ได้มากน้อยเพียงใด

32 คุณสามารถ จัดเตรียมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ (Data Preparation) ได้มากน้อยเพียงใด

33 คุณสามารถ วิเคราะห์และตีความข้อมูล (Analyze Data and Draw Insights) ได้มากน้อยเพียงใด

34 คุณสามารถ จัดเตรียมหลักปฏิบัติทื่ดีเพื่อสร้าง ธรรมาภิบาลสำหรับทรัพย์สินข้อมูล (Data Governance) ได้มากน้อยเพียงใด

DT700 : การพัฒนาซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง

35 คุณสามารถ จัดการผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร์ ได้มากน้อยเพียงใด

36 คุณสามารถ จัดทำแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ พลวัตรปรับต่อเนื่อง ได้มากน้อยเพียงใด

37 คุณสามารถ จัดทำซอฟต์แวร์ ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง ได้มากน้อยเพียงใด

38 คุณสามารถ ตรวจสอบควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร์ ได้มากน้อยเพียงใด

DS100 : การกำหนดกรอบการให้ บริการแบบเชื่อมโยงและเทคนิคการออกแบบกระบวนการ

39 คุณสามารถ ระบุประเด็นปัญหา และผลกระทบของปัญหาของกระบวนการทำงานและการให้บริการแบบแยกส่วน ได้มากน้อยเพียงใด

40 คุณสามารถ ระบุแนวทางในการแก้ปัญหาและกำหนดกรอบการให้บริการดิจิทัลแบบเชื่อมโยง ได้มากน้อยเพียงใด

DS200 : การวางกลยุทธ์การให้ บริการสมาร์ทดิจิทัลและนำสู่การปฏิบัติ

41 คุณสามารถ จัดทำแผนที่นำทางบริการดิจิทัลแบบเชื่อมโยง ได้มากน้อยเพียงใด

42 คุณสามารถ สื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องการให้บริการแบบเชื่อมโยง ได้มากน้อยเพียงใด

43 คุณสามารถ ขับเคลื่อนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการสู่การปฏิบัติ ได้มากน้อยเพียงใด

DS300 : การออกแบบนวัตกรรมบริการ

44 คุณสามารถ เข้าใจและอธิบายประสบการณ์ของผู้ใช้บริการได้ตลอดกระบวนการให้บริการแบบเชื่อมโยง (User Experience and User Journey) ได้มากน้อยเพียงใด

45 คุณสามารถ ระบุองค์ประกอบของการออกแบบบริการเพื่อความสมบูรณ์ของการให้บริการ ได้มากน้อยเพียงใด

46 คุณสามารถ สร้าง Service Blueprint สำหรับพัฒนานวัตกรรมบริการ ได้มากน้อยเพียงใด

DS400 : การสร้างเครือข่ายเพื่อสร้างนวัตกรรมบริการดิจิทัล

47 คุณสามารถ กำหนดเป้าหมายของการดำเนินการร่วมกัน ได้มากน้อยเพียงใด

48 คุณสามารถ กำหนดกรอบการดำเนินงานร่วมกัน ได้มากน้อยเพียงใด

DS500 : การสร้างนวัตกรรมบริการแก่นที่ใช้การได้และสำเร็จได้ (Minimum Viable Service) ในระยะเวลาสั้นและใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด

49 คุณสามารถ ออกแบบกระบวนการทำงานของบริการดิจิทัล (Process Design) ได้มากน้อยเพียงใด

50 คุณสามารถ ออกแบบสารสนเทศสำหรับการให้บริการ (Information Design) ได้มากน้อยเพียงใด

51 คุณสามารถ ออกแบบองค์กรสำหรับการให้บริการ ได้มากน้อยเพียงใด

52 คุณสามารถ พัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัล ด้วยเทคนิคพลวัตรปรับต่อเนื่อง ได้มากน้อยเพียงใด

DS600 : การปรับปรุงกระบวนงานและพัฒนานวัตกรรมบริการเพื่อยกระดับคุณภาพการให้บริการดิจิทัลได้อย่างต่อเนื่อง

53 คุณสามารถ ประเมินความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ ได้มากน้อยเพียงใด

54 คุณสามารถ จัดทำข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงบริการ ได้มากน้อยเพียงใด

55 คุณสามารถ ถอดองค์ความรู้ เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ได้มากน้อยเพียงใด

DS700 : การบริหารจัดการประสิทธิภาพการบริการและการทำงานดิจิทัล

56 คุณสามารถ กำหนดวิธีการวัดประสิทธิภาพของการให้บริการดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

57 คุณสามารถ รวบรวมผลลัพธ์ของจุดให้บริการย่อยต่างๆ ได้มากน้อยเพียงใด

58 คุณสามารถ วิเคราะห์ประสิทธิภาพการให้บริการดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด
59 คุณสามารถ กำหนดแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพบริการดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

SPM100 : การกำหนดนโยบายและทิศทางเพื่อพัฒนาองค์กรดิจิทัลที่มีการเชื่อมโยงข้อมูลและการทำงานข้ามหน่วยงาน

60 คุณสามารถ วิเคราะห์ความพร้อมของการปรับสู่องค์กรดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

61 คุณสามารถ จัดทำนโยบาย และยุทธศาสตร์ดิจิทัลสู่การเป็นองค์กรดิจิทัลที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติและแผนยุทธศาสตร์หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้มากน้อยเพียงใด

SPM200 : การออกแบบองค์กรดิจิทัล (Future Design)

62 คุณสามารถ วิเคราะห์องค์กรปัจจุบันเปรียบเทียบกับองค์กรดิจิทัลอนาคต ได้มากน้อยเพียงใด

63 คุณสามารถ ออกแบบส่วนประกอบขององค์กรดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

64 คุณสามารถ ส่งมอบพิมพ์เขียว (Blueprint) องค์กรดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

SPM400 : การริเริ่มและวางแผนโครงการภายใต้รัฐบาลดิจิทัล (Project Initiation and Planning)

65 คุณสามารถ กำหนดเป้าประสงค์ของโครงการ ได้มากน้อยเพียงใด

66 คุณสามารถ จัดการผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ ได้มากน้อยเพียงใด

67 คุณสามารถ จัดทำกฏบัตรโครงการ (Project Charter) ได้มากน้อยเพียงใด

68 คุณสามารถ วางแผนการดำเนินโครงการ ได้มากน้อยเพียงใด

69 คุณสามารถ จัดทำงบประมาณโครงการและการนำระบบดิจิทัลไปใช้ ได้มากน้อยเพียงใด

70 คุณสามารถ วางแผนจัดการการสื่อสารโครงการ ได้มากน้อยเพียงใด

71 คุณสามารถ วางแผนจัดการความเสี่ยงโครงการ ได้มากน้อยเพียงใด

72 คุณสามารถ จัดทำแผนควบคุมคุณภาพของโครงการ ได้มากน้อยเพียงใด

SPM500 : การดำเนินโครงการและควบคุมโครงการดิจิทัล

73 คุณสามารถ ควบคุมและประกันคุณภาพโครงการ (Quality Assurance and Control) ได้มากน้อยเพียงใด

74 คุณสามารถ บริหารจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น (Risk Response) ได้มากน้อยเพียงใด

75 คุณสามารถ ติดตามผลและควบคุมการดำเนินการโครงการ ได้มากน้อยเพียงใด

76 คุณสามารถ ควบคุมการเปลี่ยนแปลงขอบเขตโครงการ ได้มากน้อยเพียงใด

SPM600 : การทบทวนโครงการและปิดโครงการ

77 คุณสามารถ ตรวจรับงานส่งมอบตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ ได้มากน้อยเพียงใด

78 คุณสามารถ ประเมินและสรุปผลสำเร็จของโครงการเพื่อใช้อ้างอิงในโครงการต่อไป ได้มากน้อยเพียงใด

79 คุณสามารถ จัดทำงบประมาณบำรุงรักษา ได้มากน้อยเพียงใด

DL300 : การเก่งกระบวนงาน เข้าใจองค์กรดิจิทัล และสื่อสารต่อยอดการเปลี่ยนแปลง

80 คุณสามารถ นำการเปลี่ยนแปลงกระบวนงานสู่การบูรณาการและกระบวนงานอัตโนมัติ ได้มากน้อยเพียงใด

81 คุณสามารถ กำหนดกรอบการทำงานองค์กรดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

82 คุณสามารถ สื่อสารและขับเคลื่อนการบูรณาการทำงานและข้อมูลที่สอดคล้องกับเป้าหมายและนโยบายองค์กรดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

DTR200 : การบริหารจัดการกระบวนการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรดิจิทัล

83 คุณสามารถ ส่งเสริมและผลักดันให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรูปแบบการทำงานให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

84 คุณสามารถ พัฒนาศักยภาพผู้ที่เกี่ยวข้องตลอดกระบวนการเปลี่ยนแปลงสู่การทำงานแบบดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

85 คุณสามารถ กำกับติดตามกระบวนการเปลี่ยนแปลงสู่การทำงานแบบดิจิทัลและรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้มากน้อยเพียงใด

86 คุณสามารถ คาดการณ์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยง ได้มากน้อยเพียงใด

DTR300 : การสนับสนุนการปรับ เปลี่ยนสู่องค์กรดิจิทัลได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

87 คุณสามารถ เก็บเกี่ยวความรู้ แนวปฏิบัติที่ดีและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรดิจิทัล ได้มากน้อยเพียงใด

88 คุณสามารถ ปรับเปลี่ยนรูปแบบแผนกลยุทธ์ขององค์กรให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร (New S-Curve) ได้มากน้อยเพียงใด

 

 

e-book คู่มือระบบประเมินทักษะดิจิทัลสำหรับข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ (Digital Government)) 

ที่มา https://www.ocsc.go.th/digital_learning_sources

รวบรวมข้อมูลและรูปภาพ www.iok2u.com 

--------------------------------------------------------------

Digital Literacy ทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ

--------------------------------------------------------------

ขอต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์
www.iok2u.com
แหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อคุณ

เว็บไซต์ www.iok2u.com นี้เกิดมาจาก แรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward โดยมีเป้าหมายเล็ก ๆ ที่กำหนดไว้ว่า ทุกครั้งที่เข้าเรียนสัมมนาหรืออบรมในแต่ละครั้ง จะนำความรู้มาจัดทำเป็นบทความอย่างน้อย 3 เรื่อง เพื่อมาลงในเว็บนี้
ความตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับมาทำการถ่ายทอดต่อไป และหวังว่าจะมีคนมาอ่านแล้วเห็นว่ามีประโยชน์นำเอาไปใช้ได้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลย โดยอาจไม่ต้องอ้างอิงที่มาหรือมาตอบแทนผู้จัด แต่ขอให้ส่งต่อหากคิดว่ามันดีหรือมีประโยชน์ เพื่อถ่ายทอดความรู้และสิ่งดี ๆ ต่อไปข้างหน้าต่อไป Pay It Forward