iok2u.com แหล่งรวมข้อมูลข่าวสารเรื่องราวน่าสนใจเพื่อการศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนรู้

ยืนหยัด เข้มแข็ง และกล้าหาญ (Stay Strong & Be Brave)
ขอเป็นกำลังใจให้คนดีทุกคนในการต่อสู้ความอยุติธรรม ในยุคสังคมที่คดโกงยึดถึงประโยชน์ส่วนตนและพวกฟ้องมากกว่าผลประโยชน์ส่วนรวม จนหลายคนคิดว่าพวกด้านได้อายอดมักได้ดี แต่หากยึดคำในหลวงสอนไว้ในเรื่องการทำความดีเราจะมีความสุขครับ
Pay It Forward เป้าหมายเล็ก ๆ ในการส่งมอบความดีต่อ ๆ ไป
เว็ปไซต์นี้เกิดจากแรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward ที่เล่าถึงการมีเป้าหมายเล็ก ๆ กำหนดไว้ให้ส่งมอบความดีต่อไปอีก 3 คน หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา อยากให้ส่งต่อเพื่อถ่ายทอดต่อไป
มิสเตอร์เรน (Mr. Rain) และมิสเตอร์เชน (Mr. Chain)
Mr. Rain และ Mr. Chain สองพี่น้องในโลกออฟไลน์และออนไลน์ที่จะมาร่วมมือกันสร้างสื่อสารสนเทศ เพื่อเผยแพร่ให้ความรู้ในเรื่องราวต่างๆ มากมายสร้างสังคมในการเรียนรู้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา

สนใจดาวน์โหลดเอกสาร https://goo.gl/eYK9Rp

1. ชื่อหนังสือ  Best Practices & Lessons Learned การเพิ่มประสิทธิภาพโลจิสติกส์ภาคกลาง กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และชิ้นส่วนยานยนต์ 2558 

2. ชื่อผู้จัดทำ  สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ และบริษัท ที่ปรึกษายุทธศาสตร์การพัฒนา จํากัด 

3. ข้อมูลหนังสือ

กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ โดยสํานักโลจิสติกส์ได้ดําเนินโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ โลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรมกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อพัฒนา ศักยภาพการจัดการด้านโลจิสติกส์ภายในองค์กรของสถานประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และชิ้นส่วนยานยนต์ ที่มีสัดส่วนต้นทุนการถือครองสินค้าต่อ GDP อยู่ในเกณฑ์สูงลําดับต้นๆ ให้มีการลดต้นทุนหรือเพิ่มประสิทธิภาพโลจิสติกส์โดยมุ่งให้คําปรึกษาเชิงลึกเพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการ ทํางาน (Process) และสร้างบุคลากรหลักด้านโลจิสติกส์สําหรับเป็นต้นแบบของการพัฒนาศักยภาพด้าน โลจิสติกส์ของสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ พร้อมกับรวบรวมวิธีการจัดการที่ดีที่สุด (Best Practice) และบทเรียนจากประสบการณ์ของกลุ่มอุตสาหกรรม (Lessons Learned) ให้ผู้ประกอบการอื่น สามารถนําไปประยุกต์ใช้สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน

4. สารบัญ

บทที่ 1 บทนํา

• หลักการและเหตุผล  

• วัตถุประสงค์

• ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

• สรุปผลการดําเนินงาน

บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่นํามาประยุกต์ใช้

• กิจกรรมหลักด้านโลจิสติกส์

• ตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์

• ระบบการผลิตแบบโตโยต้า

บทที่ 3 แบบจําลองเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพโลจิสติกส์อุตสาหกรรม

• การปรับปรุงประสิทธิภาพโลจิสติกส์อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

o แบบจําลองสําหรับการพัฒนาศักยภาพการจัดการด้านโลจิสติกส์

o การผลิตเพื่อเก็บเป็นสินค้าคงคลัง (Make To Stock) 26

o การผลิตตามคําสั่งซื้อของลูกค้า (Make To Order)

o การผลิตแบบผสม (Hybrid) หรือการประกอบตามคําสั่ง (Assembly to Order)

• การปรับปรุงประสิทธิภาพโลจิสติกส์อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์

o แบบจําลองเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพโลจิสติกส์อุตสาหกรรมสําหรับ OEM

o แบบจําลองเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพโลจิสติกส์อุตสาหกรรมสําหรับ REM

o ระบบการผลิตแบบโตโยต้า

บทที่ 4 บทเรียนจากประสบการณ์ของสถานประกอบการอุตสาหกรรม

• การวางแผนหรือคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า (Demand Forecasting and Planning)

• การให้บริการแก่ลูกค้าและกิจกรรมสนับสนุน (Customer Service and Support)

• การสื่อสารด้านโลจิสติกส์และการจัดการคําสั่งซื้อ (Logistics Communication and Order Processing)

• การจัดซื้อจัดหา (Purchasing and Procurement)

• การจัดการเครื่องมือต่างๆ และการบรรจุหีบห่อ (Materials Handling and Packaging)

• การเลือกสถานที่ตั้งของโรงงานและคลังสินค้า (Site Selection, Warehousing and Storage)

• การบริหารจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management)

• การขนส่ง (Transportation)

• โลจิสติกส์ย้อนกลับ (Reverse Logistics)

5. อื่น ๆ

@ ลงข้อมูล / เกียรติพงษ์ อุดมธนะธีระ 

@ ที่มาข้อมูล www.logistics.go.th

 

ขอต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์
www.iok2u.com
แหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อคุณ

เว็บไซต์ www.iok2u.com นี้เกิดมาจาก แรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward โดยมีเป้าหมายเล็ก ๆ ที่กำหนดไว้ว่า ทุกครั้งที่เข้าเรียนสัมมนาหรืออบรมในแต่ละครั้ง จะนำความรู้มาจัดทำเป็นบทความอย่างน้อย 3 เรื่อง เพื่อมาลงในเว็บนี้
ความตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับมาทำการถ่ายทอดต่อไป และหวังว่าจะมีคนมาอ่านแล้วเห็นว่ามีประโยชน์นำเอาไปใช้ได้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลย โดยอาจไม่ต้องอ้างอิงที่มาหรือมาตอบแทนผู้จัด แต่ขอให้ส่งต่อหากคิดว่ามันดีหรือมีประโยชน์ เพื่อถ่ายทอดความรู้และสิ่งดี ๆ ต่อไปข้างหน้าต่อไป Pay It Forward