Nares ไทย ลุยทุ่งกุลาตามประสานักธรณีฯ 5 (การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกจากโดมเกลือ; Salt Tectonic)
รูปที่ 1 ภาพตัดขวางในแนวเกือบจะเหนือ-ใต้ ผ่านแอ่งอุดร-สกลนคร (ภาพบน) กับแอ่งโคราช-อุบล(ภาพล่าง) โปรดสังเกตลักษณะการวางตัวของชั้นเกลือหินชั้นล่าง (พื้นที่สีแดง) ของหมวดหินมหาสารคาม และขอบเขตของทุ่งกุลาร้องไห้ (เส้นสีน้ำเงิน TKR ในภาพล่าง)
ลุยทุ่งกุลาตามประสานักธรณีฯ 5 (การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกจากโดมเกลือ; Salt Tectonic)
เรื่องราวและเหตุการณ์ทั้งหมดก็เป็นเช่นนี้แหละครับ ท่านสารวัตร
-------------------------------------------------
ที่มา
- https://www.facebook.com/nares.sattayarak
รวบรวมข้อมูลและภาพ
-------------------------------------------------
บทความ ดร. นเรศ สัตยารักษ์ (Nares Sattayarak)
รวมบทความที่น่าสนใจจากนักธรณีวิทยาของไทย
-------------------------------------------------
ภาพที่ 2 ภาพปะต่อรวม แสดงภาพตัดขวางของข้อมูลการวัดคลื่นไหวสะเทือนในชั้นหินตามส่วนหนึ่งของถนนสายบ้านไผ่-บรบือ-วาปีปทุม ซึ่งมีแนวประมาณทิศตะวันตก-ตะวันออก ภาพขยายของโดมเกลือหนองบ่อ (ภาพล่างด้านซ้าย) และตำแหน่ง ก ซึ่งเป็นตำแหน่งของภาพถ่ายแสดงเนินสูงบนถนนสาย 23 (ภาพบนด้านซ้ายของรูป 2 และภาพล่างของรูปที่ 3)
ภาพที่ 3 ภาพถ่ายเนินสูงบนถนนสาย 23 (บ้านไผ่-บรบือ) แสดง เนินที่วางตัวค่อนไปในแนวเหนือ-ใต้ ที่เกิดจากการปูดตัวของชั้นเกลือหินชั้นล่างของหมวดหินมหาสารคาม