STAT สถิติธุรกิจ (Business Statistic) สถิติเรื่องใกล้ตัวไม่น่ากลัวอย่างที่คิด
รายวิชา
โมดูลที่ 1 สถิติและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับชีวิตประจำวัน
เรื่องที่ 3 สถิติคืออะไร
สถิติในภาษาอังกฤษใช้คำว่า Statistics ซึ่งหมายถึง วิธีการหรือเครื่องมือที่ทำให้ได้ความรู้ความเข้าใจใหม่ ๆ จนกระทั่งกลายเป็น สารสนเทศ Information ที่มาจากข้อมูลหรือตัว Data เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนการดำเนินชีวิต การตัดสินใจรวมถึงใช้กำหนดนโยบายทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
ข้อมูล (Data) นำมาทำผ่านกระบวนการสถิติ (Statistics) จะได้เป็นสารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ คือ ความรู้หรือข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลเพราะฉะนั้นสารสนเทศจะมีสาระ มีสิ่งที่มีประโยชน์ที่สามารถนำไปใช้สื่อความหมายให้เกิดความเข้าใจกับผู้ต้องการใช้ข้อมูลเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ได้หรือจะบอกว่าสารสนเทศคือความรู้ที่ได้จากข้อมูลนั่นเอง
ซึ่งต้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์ ประมวลผล โดยหลักการทางสถิติศาสตร์ อย่างไรก็ตามคุณสมบัติของสารสนเทศ ก็ควรจะต้องรู้ นั่นก็หมายความว่า เวลาที่เราได้ข้อมูลมาชุดหนึ่ง ก็ต้องมาทำการวิเคราะห์เพื่อทำให้เกิดสารสนเทศ เพราะฉะนั้นแล้วสารสนเทศที่ดีควรจะมีลักษณะเป็นอย่างไร เพราะว่าสารสนเทศจะนำไปใช้ในการวางแผนการตัดสินใจทั้งระดับองค์กร แล้วก็ระดับประเทศ
ความสำคัญกับคุณสมบัติของสารสนเทศ ที่ดีควรจะต้องมีลักษณะของความถูกต้อง วิเคราะห์ข้อมูลให้ถูกต้อง ข้อมูลที่ได้มาจะต้องมีการวิเคราะห์ให้รวดเร็ว เพื่อทำให้สารสนเทศที่ได้นั้นเป็นปัจจุบันให้มากที่สุด สารสนเทศต้องมีความสมบูรณ์ สารสนเทศควรมีความชัดเจน มีความกะทัดรัด และก็ท้ายที่สุดที่สำคัญมากก็คือว่า สารสนเทศควรต้องมีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้สารสนเทศ
การใช้เทคโนโลยีเข้ามาร่วมด้วยในการเก็บรวบรวมข้อมูล ก่อนที่จะนำมาทำการเปลี่ยนจากข้อมูลที่ได้ให้กลายมาเป็นสารสนเทศ ประกอบด้วย
1. การเริ่มต้นจากการสืบค้นข้อมูล สืบค้นข้อมูลว่าผู้ที่จะต้องการใช้สารสนเทศหรือผู้บริโภค ต้องการอะไรเพราะฉะนั้นก็ต้องกำหนดเป้าหมายว่า เราจะสืบค้นข้อมูลเรื่องอะไร สืบค้นจากใคร
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล ว่าเราต้องการข้อมูลอะไร จากใคร
3. การคัดกรอง ทำการกรองข้อมูลก่อนว่าข้อมูลที่ได้มานั้นเป็นข้อมูลที่มีความถูกต้อง ความสมบูรณ์มากน้อยแค่ไหน
4. การจำแนกข้อมูลว่าข้อมูลที่ได้มานั้น จะถูกจำแนกออกเป็นข้อมูล ที่บ่งบอกคุณลักษณะของกลุ่มเป้าหมายหรือว่าเป็นลักษณะการบ่งบอกปริมาณของกลุ่มเป้าหมาย
5. การจัดการข้อมูล
6. การคัดแยกข้อมูลอีกชั้นหนึ่งเพื่อความชัดเจนให้ตรงกับสิ่งที่ผู้ใช้สารสนเทศมีความต้องการให้มากขึ้น
7. การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำให้ได้สารสนเทศตามที่ผู้ต้องการใช้งานให้เกิดประโยชน์ได้มากที่สุด
เรื่องที่ 4 การสืบค้นสารสนเทศ
เรื่องที่ 5 เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
เรื่องที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร
เรื่องที่ 7 การสร้าง Google forms (การสร้างบัญชี)
เรื่องที่ 8 การเริ่มต้นสร้าง Google forms
เรื่องที่ 9 การสร้างเอกสาร Google forms
เรื่องที่ 10 การดูตัวอย่างแบบสอบถาม Google forms
เรื่องที่ 10 การดำเนินการกับข้อมูล แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ทดสอบหลังเรียน
โมดูลที่ 2 การนำเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทดสอบก่อนเรียน
เรื่องที่ 1 การนำเสนอข้อมูล
เรื่องที่ 2 การนำเสนอข้อมูลแบบกราฟวงกลม
เรื่องที่ 3 การน าเสนอข้อมูลแบบกราฟแท่ง
เรื่องที่ 4 การน าเสนอข้อมูลแบบตารางความถี่จ าแนกทางเดียว
เรื่องที่ 5 การน าเสนอข้อมูลแบบตารางความถี่จ าแนก 2 ทาง
เรื่องที่ 6 การจัดกลุ่มข้อมูล แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ทดสอบหลังเรียน
โมดูลที่ 3 การจ าแนกและการสืบค้นข้อมูล ทดสอบก่อนเรียน
เรื่องที่ 1 การสืบค้นข้อมูลและการจ าแนกข้อมูล 1
เรื่องที่ 2 การสืบค้นข้อมูลและการจ าแนกข้อมูล 2
เรื่องที่ 3 การจ าแนกข้อมูลตามระดับการวัด (นามบัญญัติ-Nominal scale)
เรื่องที่ 4 การจ าแนกข้อมูลตามระดับการวัด (ระดับเรียงอันดับ-Ordinal scale)
เรื่องที่ 5 การจ าแนกข้อมูลตามระดับการวัด (ระดับอันตรภาค-Interval scale)
เรื่องที่ 6 การจ าแนกข้อมูลตามระดับการวัด (ระดับอัตราส่วน-Ratio scale) แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ทดสอบหลังเรียน
โมดูลที่ 4 สถิติพรรณนาและสถิติอนุมาน ทดสอบก่อนเรียน
เรื่องที่ 1 สถิติพรรณนาและสถิติอนุมาน เรื่องที่ 2 สถิติพรรณนา
เรื่องที่ 3 การแจกแจงความถี่ และการหาร้อยละ
เรื่องที่ 4 การหาค่ากลาง
เรื่องที่ 5 การหาค่ากลาง ฐานนิยม (Mode)
เรื่องที่ 6 การหาค่ากลาง มัธยฐาน (Median)
เรื่องที่ 7 การหาค่ากลาง ค่าเฉลี่ย (Mean)
เรื่องที่ 8 การวัดการกระจาย
เรื่องที่ 9 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
เรื่องที่ 10 ความแปรปรวน
เรื่องที่ 11 สถิติอนุมาน (Inferential Statistics)
โมดูลที่ 5 โปรแกรมส าเร็จรูปส าหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ทดสอบก่อนเรียน
เรื่องที่ 1 โปรแกรมส าเร็จรูปส าหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
เรื่องที่ 2 การเริ่มต้นใช้งาน PSPP
เรื่องที่ 3 การสร้างแฟ้มข้อมูล การสร้างแฟ้มข้อมูล การสร้างแฟ้มข้อมูล
เรื่องที่ 4 การหาความถี่และร้อยละ
เรื่องที่ 5 การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้และความโด่ง
เรื่องที่ 6 การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ Hypothesis Testing เรื่องที่ 7 ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน เรื่องที่ 8 การทดสอบสมมติฐาน One sample t-test เรื่องที่ 9 การทดสอบสมมติฐาน Independent samples t-test เรื่องที่ 10 การทดสอบสมมติฐาน Paired samples t-test เรื่องที่ 11 การทดสอบสมมติฐาน Analysis of Variance : ANOVA เรื่องที่ 12 การทดสอบสมมติฐาน Pearson Correlation เรื่องที่ 13 การทดสอบสมมติฐาน Chi – square แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ทดสอบหลังเรียน
ที่มา https://lms.thaimooc.org/courses/course-v1:STOU+STOU015+2019/course/
--------------------------------------------------------
สนใจเรื่องราวสถิติธุรกิจ (Business Statistic) เพิ่มเติม
STAT สถิติ (Statistics) คืออะไร
--------------------------------------------------------