GCG บรรษัทภิบาล (Good Corporate Governance) การกำกับดูแลกิจการที่ดี
บรรษัทภิบาล (Good Corporate Governance) คือ การกำกับดูแลกิจการที่ดี เป็นการดำเนินธุรกิจองค์กรที่แสดงถึงความสัมพันธ์และความรับผิดชอบร่วมกัน ระหว่างกลุ่มหลักขององค์การซึ่งประกอบด้วยผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท และฝ่ายดำเนินการ
บรรษัทภิบาล (Good Corporate Governance) ช่วยให้เกิดสมรรถนะการแข่งขันขององค์การ และทำให้องค์กรก้าวไปสู่เป้าหมายตามที่กำหนดไว้ได้ การกำหนดทิศทางองค์การ คำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อผู้มีผลประโยชน์ร่วมด้วย สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน และได้ดุลยภาพของการจัดการที่ดี
ประวัติความเป็นมา
- ปี 1989 มีการวิจัยและใช้คำว่า Governance โดยกลุ่มนักวิชาการและนักวิจัยขององค์กรระหว่างประเทศ
- ต่อมาเสนอแนวคิด Good Governance ในภาครัฐ และ ประยุกต์หลักการมาใช้กับภาคธุรกิจเอกชนเรียก Good Corporate Governance
- รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และวิกฤตเศรษฐกิจและการเงิน 2540 กระตุ้นความสนใจในการกำกับดูแลที่ดีเพื่อการพัฒนาที่สมดุลและธรรมาภิบาลในภาครัฐ
บทความและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- ความหมายของหลักธรรมาภิบาล การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Meaning of Good Corporate Governance)
- ประโยชน์จากการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการ (Good Governance benefit)
- พัฒนาการของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในประเทศไทย
- หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
- แนวทางการประเมินบรรษัทภิบาล (Corporate Governance Assessment Guidelines)
-
- E-Book หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) 2555
-
ที่มา :
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.) https://learn.ocsc.go.th/
ที่มาภาพและรวบรวมโดย www.iok2u.com
-------------------------------------------------
สนใจเรื่องราวเพิ่มเติมคลิกที่นี่
GCG บรรษัทภิบาล (Good Corporate Governance) การกำกับดูแลกิจการที่ดี-------------------------------------------------