iok2u.com แหล่งรวมข้อมูลข่าวสารเรื่องราวน่าสนใจเพื่อการศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนรู้
แบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงา
แบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงา
แบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงา
SCOR Model คือ แบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงา
SCOR Model จะเน้นกำหนดกระบวนการทำงานต
นอกจากนี้ในแบบจำลองอ้างอิง
SCOR Model จะประกอบไปด้วย 6 กระบวนการหลักคือ
1. Plan เกี่ยวข้องกับการวางแผนต่าง
2. Source เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ จัดหา และการขนส่งวัตถุดิบ
3. Make เกี่ยวข้องกับการผลิตและการ
4. Delivery เกี่ยวข้องกับการจัดการในกา
5. Return เกี่ยวข้องกับส่งวัตถุดิบคื
6. Enable เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่ท
-----------------------------------------------
SCOR Model กำหนดมาตรฐานสำหรับงานไว้ 6 งานคือ
1. งานการวางแผน (Plan, P) เกี่ยวข้องกับการวางแผนการท
2. งานการจัดซื้อจัดหา (Source, S) เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ จัดหา และการขนส่งวัตถุดิบ มีงานแบ่งย่อยออกเป็น 3 งาน
3. งานผลิต (Make, M) เกี่ยวข้องกับการผลิตและการ
4. งานจัดส่ง (Delivery, D) เกี่ยวข้องกับการจัดการในกา
5. งานส่งกลับและรับคืน (Return, R) เกี่ยวข้องกับงานส่งกลับวัต
6. งานกำหนดกฎและระบบ (Enable, E) เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่ท
จะเห็นว่าในแต่ละงานมีการแบ
-----------------------------------------------
องค์ประกอบของขั้นตอน SCOR Model
องค์ประกอบของขั้นตอน SCOR Model แบ่งองค์ประกอบของกระบวนการไว้ 4 ระดับคือ
SCOR ระดับที่ 1 ชนิดของกระบวนการ การกำหนดขอบเขตการดำเนินงานโซ่อุปทาน การสร้างแบบจำลอง และการปรับปรุงประสิทธิภาพ เป็นขั้นตอนในการพัฒนาโซ่อุปทานองค์กรโดยทำการวิเคราะห์ถึงองค์ประกอบที่สำคัญทั้งภายในและภายนอกองค์กร ปัจจัยในการวัดประสิทธิภาพและผลในการปฏิบัติงาน จะต้องทำการกำหนดขึ้นมา เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมายของแต่ละปัจจัยของผลความสามารถในการปฏิบัติงานของโซ่อุปทานที่สำคัญ ตัววัดประสิทธิภาพ (Performance Measures) ในระดับที่ 1 ประกอบไปด้วย 5 กลุ่ม คือ
- กลุ่มที่ 1 ความน่าเชื่อถือของห่วงโซ่อุปทานการจัดส่ง (Supply Chain Delivery Reliability)
- กลุ่มที่ 2 การตอบสนองของโซ่อุปทาน (Supply Chain Responsiveness)
- กลุ่มที่ 3 ความยืดหยุ่นโซ่อุปทาน (Supply Chain Flexibility)
- กลุ่มที่ 4 ต้นทุนโซ่อุปทาน (Supply Chain Costs) ประกอบด้วย
- กลุ่มที่ 5 ความมีประสิทธิภาพการจัดการสินทรัพย์ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Asset Management Efficiency)
SCOR ระดับที่ 2 แบบของกระบวนการ สามารถสร้างแบบจำลองโซ่อุปทานได้ โดยพิจารณาลักษณะกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจ สภาพแวดล้อมองค์กร เปรียบเทียบกับแบบจำลองของ SCOR Model หลังจากที่ได้กำหนดกระบวนการปฏิบัติงานที่เหมาะสม และขอบข่ายการจัดการที่เกี่ยวข้องจาก SCOR ในระดับที่ 1 แล้ว นำมาแปรเป็นกระบวนการปฏิบัติงานที่เหมาะสม และสอดคล้องกับกลยุทธ์ที่ได้กำหนดไว้ โดยกำหนดเป็นโครงร่างของโซ่อุปทานขององค์กร การกำหนดโครงร่างของโซ่อุปทานนี้ จะครอบคลุมการพิจารณาการกำหนดโครงร่างของกระบวนการปฏิบัติงานในส่วนการวางแผน การจัดหาแหล่งวัตถุดิบ การผลิต และการจัดส่ง ที่มีขอบข่ายการปฏิบัติงานทั้งในส่วนการปฏิบัติงานภายในและระหว่างองค์กร
SCOR ระดับที่ 3 องค์ประกอบของกระบวนการ จะเป็นการกำหนดรายละเอียดในแต่ละส่วนของกระบวนการภายในและระหว่างองค์กร ที่ได้กำหนดไว้ในระดับที่ 2 ประกอบด้วยส่วนประกอบต่างๆ ของกระบวนการย่อย ข้อมูลปัจจัยขาเข้า (Input) และปัจจัยขาออก (Output) ในแต่ละกระบวนการย่อย มีตัววัดสมรรถนะของกระบวนการ และเสนอวิธีการปฏิบัติงาน
SCOR ระดับที่ 4 เป็นการนำสิ่งที่ได้กำหนดมาไปปฏิบัติให้เกิดผลตามที่กำหนดไว้ โดยมีการกำหนดแบบแผนการปฏิบัติงาน ในรูปแบบที่เหมาะสมกับกระบวนการที่ได้กำหนดไว้ในโครงร่างโซ่อุปทานขององค์กร
----------------------------------------
-----------------------------------------------
องค์ประกอบของขั้นตอน SCOR Model 3 ระดับและ 1 ส่วนคือ
SCOR ระดับที่ 1 ชนิดของกระบวนการ การกำหนดขอบเขตการดำเนินงานโซ่อุปทาน การสร้างแบบจำลอง และการปรับปรุงประสิทธิภาพ เป็นขั้นตอนในการพัฒนาโซ่อุปทานองค์กรโดยทำการวิเคราะห์ถึงองค์ประกอบที่สำคัญทั้งภายในและภายนอกองค์กร ปัจจัยในการวัดประสิทธิภาพและผลในการปฏิบัติงาน จะต้องทำการกำหนดขึ้นมา เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมายของแต่ละปัจจัยของผลความสามารถในการปฏิบัติงานของโซ่อุปทานที่สำคัญ ตัววัดประสิทธิภาพ (Performance Measures) ในระดับที่ 1 ประกอบไปด้วย 5 กลุ่ม คือ
- กลุ่มที่ 1 ความน่าเชื่อถือของห่วงโซ่อุปทานการจัดส่ง (Supply Chain Delivery Reliability)
- กลุ่มที่ 2 การตอบสนองของโซ่อุปทาน (Supply Chain Responsiveness)
- กลุ่มที่ 3 ความยืดหยุ่นโซ่อุปทาน (Supply Chain Flexibility)
- กลุ่มที่ 4 ต้นทุนโซ่อุปทาน (Supply Chain Costs) ประกอบด้วย
- กลุ่มที่ 5 ความมีประสิทธิภาพการจัดการสินทรัพย์ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Asset Management Efficiency)
SCOR ระดับที่ 2 แบบของกระบวนการ สามารถสร้างแบบจำลองโซ่อุปทานได้ โดยพิจารณาลักษณะกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจ สภาพแวดล้อมองค์กร เปรียบเทียบกับแบบจำลองของ SCOR Model ลังจากที่ได้กำหนดกระบวนการปฏิบัติงานที่เหมาะสม และขอบข่ายการจัดการที่เกี่ยวข้องจาก SCOR ในระดับที่ 1 แล้ว นำมาแปรเป็นกระบวนการปฏิบัติงานที่เหมาะสม และสอดคล้องกับกลยุทธ์ที่ได้กำหนดไว้ โดยกำหนดเป็นโครงร่างของโซ่อุปทานขององค์กร การกำหนดโครงร่างของโซ่อุปทานนี้ จะครอบคลุมการพิจารณาการกำหนดโครงร่างของกระบวนการปฏิบัติงานในส่วนการวางแผน การจัดหาแหล่งวัตถุดิบ การผลิต และการจัดส่ง ที่มีขอบข่ายการปฏิบัติงานทั้งในส่วนการปฏิบัติงานภายในและระหว่างองค์กร
SCOR ระดับที่ 3 องค์ประกอบของกระบวนการ จะเป็นการกำหนดรายละเอียดในแต่ละส่วนของกระบวนการภายในและระหว่างองค์กร ที่ได้กำหนดไว้ในระดับที่ 2 ประกอบด้วยส่วนประกอบต่าง ๆ ของกระบวนการย่อย ข้อมูลปัจจัยขาเข้า (Input) และปัจจัยขาออก (Output) ในแต่ละกระบวนการย่อย มีตัววัดสมรรถนะของกระบวนการและเสนอวิธีการปฏิบัติงาน
SCOR ระดับที่ 4 เป็นการนำสิ่งที่ได้กำหนดมาไปปฏิบัติให้เกิดผลตามที่กำหนดไว้ โดยมีการกำหนดแบบแผนการปฏิบัติงานในรูปแบบที่เหมาะสมกับกระบวนการที่ได้กำหนดไว้ในโครงร่างโซ่อุปทานขององค์กร
-----------------------------------------------
เว็บไซต์ www.iok2u.com นี้เกิดมาจาก แรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward โดยมีเป้าหมายเล็ก ๆ ที่กำหนดไว้ว่า ทุกครั้งที่เข้าเรียนสัมมนาหรืออบรมในแต่ละครั้ง จะนำความรู้มาจัดทำเป็นบทความอย่างน้อย 3 เรื่อง เพื่อมาลงในเว็บนี้
ความตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับมาทำการถ่ายทอดต่อไป และหวังว่าจะมีคนมาอ่านแล้วเห็นว่ามีประโยชน์นำเอาไปใช้ได้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลย โดยอาจไม่ต้องอ้างอิงที่มาหรือมาตอบแทนผู้จัด แต่ขอให้ส่งต่อหากคิดว่ามันดีหรือมีประโยชน์ เพื่อถ่ายทอดความรู้และสิ่งดี ๆ ต่อไปข้างหน้าต่อไป Pay It Forward