LM57 การจัดการการขนส่ง (Transportation Management)
การขนส่ง (Transportation) หมายถึง การเคลื่อนย้ายคน (People) สินค้า (Goods) หรือบริการ (Services) จากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง ในกรณีของการเคลื่อนย้ายคนนั้นจะเป็นเรื่องของการขนส่งผู้โดยสารเสียเป็นส่วนใหญ่ ในบริบทของการจัดการการขนส่งนี้จะเน้นที่การขนส่งสินค้าหรือบริการเป็นสำคัญ การขนส่งถูกจัดความสำคัญไว้เป็นลำตับต้น ที่ช่วยสนับสนุนกิจการด้านต่าง ๆ ให้ประสบผลสำเร็จ ทั้งยังมีบทบาทเป็นดัชนีชี้วัดความเจริญก้าวหน้าของประเทศได้อีกทางหนึ่ง ดังนั้นการขุนส่งจึงมิใช่เรื่องของการพัฒนายานพาหนะ หรือการแข่งขันทางด้านยนตกรรมเทคโนโลยี่เท่านั้น แต่ยังต้องคำนึงถึงระบบกระบวนวิธีการ ที่เรียกว่า ระบบการขนส่ง หรือกระบวนการบริหารจัดการทางต้านการขนส่งอย่างเป็นระบบ เช่น ในแง่การขนส่งบุคคล ก็จำเป็นต้องมีระบบขนส่งมวลชนที่มีประสิทธิภาพ ในแง่การขนส่งสินค้าก็ยิ่งต้องใช้วิธีการทางโลจิสติกส์เข้ามาบูรณาการอย่างเป็นระบบ
การขนส่งนั้นถือเป็นกิจกรรมหลักในการจัดการโลจิสติกส์ และตันทุนในการขนส่งนั้นก็มักจะเป็นต้นทุนหลักของกระบวนการโลจิสติกส์ทั้งหมด โดยอยู่ที่ประมาณ 4 ใน 10 ส่วนของต้นทุนต้านโลจิสติกส์ทั้งหมด นอกจากนี้การขนส่งก็ยังมีความสำคัญอย่างยิ่งในกระบวนการต้านโลจิสติกส์ เพราะการขนส่งทำให้เกิดการไหลของสินค้า และทรัพยากรเพื่อการบริการต่างๆ ในโซ่อุปทาน ดังนั้นการบริหารการขนส่งที่ดีจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ และทำให้เกิดประสิทธิภาพกับกระบวนการโลจิสติกส์ ยิ่งไปกว่านั้นการบริหารการขนส่งอย่างมีคุณภาพ ทั้งในต้านการจัตส่งที่ตรงต่อเวลา สภาพของสินค้าที่ไม่บุบสลาย และการจังส่งสินด้ไต้อย่างครบถ้วนไม่สูญหาย ก็จะทำให้เกิดการบริการลูกค้าที่ดีขึ้น ซึ่งก็จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาของธุรกิจที่ดียิ่งขึ้น การที่เราดำเนินการให้เกิดต้นทุนที่ต่ำที่สุดในต้านการขนส่งนั้น อาจจะส่งผลให้เกิดต้นทุนที่สูงขึ้นในส่วนอื่นดังนั้นการตัตสินใจในการตำเนินการด้านการขนส่งใด ๆ ก็ตามจึงต้องคำนึงถึงผลกระทบที่จะมีต่อการบริหารจัดการในส่วนต่างๆ ดังกล่าว
รูปแบบของการขนส่ง (Mode of Transportation) สามารถแบ่งได้เป็น 5 รูปแบบ คือ
1. การขนส่งทางน้ำหรือทางเรือ (Water/Ship Transportation)
2. การขนส่งทางอากาศ (Air Transportation)
3. การขนส่งทางรถยนต์หรือทางรถบรรทุก (Truck Transportation)
4. การขนส่งทางทางรถไฟหรือระบบราง (Rail Transportation)
5. การขนส่งทางระบบท่อ (Pipeline Transportation)
- ต้นทุนในการขนส่ง (Transportation Cost)
- การจัดเส้นทางและตารางเวลาในการขนส่ง (Routing and Transportation Scheduling)
- การวัดผลการดำเนินงานการขนส่ง (Transportation Performance Measurement)
- ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการขนส่ง (Information technology systems in transportation management)
- การตัดสินใจขนส่งด้วยตนเองหรือจัดจ้าง (Self transportation decision or Outsourcing)
- ความเสี่ยงที่เกิดจากการว่าจ้างผู้ให้บริการขนส่ง
-
ข้อเสีย | ข้อดี |
การขนส่งทางน้ำ | |
1. อัตราค่าขนส่งถูกเมื่อเปรียบเทียบต่อหน่วย 2.การเทียบท่าที่ชายฝั่งในหน้าน้ำลด 3.มีความผันผวนของตารางเวลาเดินเรือ 4.สามารถส่งได้ไนระยะทางไกล 5.มีความหลากหลายของผู้ให้บริการ 6. มีความเสี่ยงของการเกิดอุบัเหตุน้อย |
1. ระยะเวลาการบนส่งส่าช้า 2. ขนส่งได้ในปริมาณที่มาก 3. มีความปลอดภัยในการขนส่งสูง |
การขนส่งทางราง | |
1.อัตราค่าขนส่งถูกเมื่อเปรียบเทียบต่อหน่วย 2.ความยืดหยุ่นมีน้อย เพราะเส้นทางที่แน่นอน 3.สามารถคาดเดาระยะเวสาไต้ 4.มีความปลอตภัยในการขนส่งสูง 5.ไม่มีข้อจำกัดของสภาพอากาศ |
1. ไม่สามารถส่งสินค้าไปถึงปลายทางเลยได้ 2. มีความรวดเร็ว 3. กฎระเบียบการขนส่งมาก 4. ไม่เหมาะกับการขนส่งในปริมาณน้อย |
การขนส่งทางถนน | |
1.ค่าขนส่งสูงเมื่อเทียบกับทางรถไฟ 2.มีความปลอดภัยต่ำ 3.ขุนส่งได้ในปริมาณที่จำกัด 4. เป็นตัวเชื่อมของรูปแบบอื่น ๆ |
1. บริการถึงที่โดยไม่ต้องมีการขุนถ่าย 2. ขนส่งได้ตลอดเวลา 3. สะดวกและรวดเร็ว ไม่ต้องรอรอบการขนส่ง 4.จำกัตรูปแบบของสินค้าที่จัดส่ง |
การขนส่งทางอากาศ | |
1.สะดวก รวดเร็ว 2.จำกัดเรื่องของปริมาตรและน้ำหนัก 3. ขนส่งไปยังประเทศที่ไม่มีทะเลไต้ 4. เหมาะกับสินค้าที่เสียหายง่าย มีอายุการใช้งานสั้น 5. การลงทุนสูง 6. ขนส่งได้หลายเที่ยวต่อวัน |
1. ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยสูง 2. กระจายสินค้าไต้หลากหลาย 3. ขนส่งได้เฉพาะเมืองที่มีท่าอากาศยาน 4. มีความเสี่ยงสูง 5. เหมาะกับการขนส่งสินค้าระยะไกล |
การขนส่งทางท่อ | |
1. เหมาะกับสินค้าประเภทของเหลวและก๊าช 2. กำหนดจุดการขนส่งทั้งต้นทางและปลายทางแน่นอน 3. ข้อจำกัตเรื่องความปลอดภัย 4. มีการต่อต้านจากชุมชน และมีข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมมีอยู่มาก 5. สามารถขนส่งได้ทุกสภาพอากาศ 6. ขนส่งได้ไม่จำกัตปริมาณและเวลา 7. เคลื่อนย้ายลำบาก 8. ประหยัดค่าแรงเพราะใช้แรงงานคนน้อย |
1. ข้อจำกัดเรื่องประเภทของสินค้าที่เป็นของเหลวและก๊าซเท่านั้น 2. สามารถส่งได้แต่ขาไปเท่านั้น 3. กำหนตระยะเวลาการขนส่งได้ 4. ประหยัตตันทุนการขนส่ง 5. ค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูง 6. ตรวจสอบข้อบกพร่องยาก 7. ปลอตภัยจากการสักขโมยและสูญหาย |
-----------------------------------------------
ดูข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่อง พื้นฐานการจัดการโลจิสติกส์ คลิกที่นี่
LM57 พื้นฐานการจัดการโลจิสติกส์ (Fundamentals of Logistics Management) ปี 2557