อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) รวมข้อมูล
อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) เกิดจากการแบ่งยุคอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนแปลง
ดัชนีซี้วัดความพร้อมของอุตสาหกรรม 4.0 เกิดจากแนวคิดของการเปลี่ยนผ่านที่เล่าถึงยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่มีการแบ่ง โดยมีการแบ่งอุตสาหกรรมออกเป็น 4 ยุค และมีการกำหนดให้ยุคที่ 4 (The Fourth Industrial Revolution) เป็นการเข้าสู่การผลิตที่มีคุณภาพและประสิทธภาพสูงสุด โดยเรียกเป็น อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ซึ่งในยุคนี้จะเน้นในการทำงานที่มีการบูรณาการทำงานร่วมกันที่มีโลกดิจิทัลของอินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วยจัดการ ในกระบวนการผลิตหรือการบริการ
ในระบบเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมภาคการผลิตด้วยศักยภาพ ในการสร้างคุณค่าในเครือข่ายอัจฉริยะ การประสานระหว่างเทคโนโลยีส่วนปฏิบัติการ (Operation Technology: OT) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) ซึ่งมีผลกระทบต่อทั้งภาคบริการและและภาครัฐของทุกประเทศ
จากกระแสการตื่นตัวต่อการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ทำให้หลายองค์กร สนใจที่จะปรับองค์กรให้สอดคล้องกับแนวคิดดังกล่าว แต่ยังขาดความรู้และความชัดเจนว่าจะต้องปรับปรุงองค์กรในด้านใด และต้องปรับปรุงไปแค่ไหนถึงจะเรียกได้ว่า เป็นองค์กรแห่งยุคอุตสาหกรรม 4.0 แล้ว จึงได้มีหลายองค์กรพยามที่จะนําแนวคิดของอุตสาหกรรม 4.0 มาจำแนก แจกแจง และนําเสนอเป็นแนวทางในการประเมินองค์กร เพื่อให้ทราบว่าองค์กรยังมีช่องวางในเรื่องใดบ้าง และเรียกเครื่องมือตัวนี้ว่า ดัชนีหรือดัชนีชี้วัด
อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) รวมข้อมูล
- Industry4_001 อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) คืออะไร
- Industry4_000 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_001 อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ยุคสมัยการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
- Industry4_002 ความรู้ความชำนาญในงาน อุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_002 เทคโนโลยีสำคัญสำหรับการพัฒนาสู่อุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_003 วิสัยทัศน์ สำหรับงานส่งเสริมอุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_003 พันธกิจ (Mission) ในการส่งเสริมอุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม 4.0 (2)
- Industry4_003 ขั้นตอนการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)
- Industry4_004 เป้าหมายของอุตสาหกรรม 4.0 (Goals of Industry 4.0)
- Industry4_005 ความสำเร็จเชิงคุณภาพ (qualitative) ในอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)
- Industry4_005 ความสำเร็จเชิงปริมาณ (quantitative) ในอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)
- Industry4_006 ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำงานด้าน อุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_006 อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ความสำคัญ
- Industry4_007 ผลกระทบที่เกิดจากงาน อุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_007 อุตสาหกรรม 4.0 ปรับตัวและรับมืออย่างไรในยุคอุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_008 ความยุ่งยากและซับซ้อนในการดำเนินงาน อุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_009 ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการงานตามอุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_010 ข้อเสนอแนะอาชีพใน อุตสาหกรรม 4.0
- Industry4 บุคคลากรในงานด้านอุตสาหกรรม 4.0
- Industry4 บุคคลากรในงานด้านอุตสาหกรรม 4.0 ทักษะที่มี
- Industry4_011 ตัวอย่างกิจกรรมที่พบในงาน อุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_011 ตัวอย่างหน่วยงานที่มีความสำเร็จ (successful) ในงานอุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_011 ตัวอย่างวิสัยทัศน์สำหรับงานส่งเสริมอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_012 โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการพัฒนางาน อุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_013 อุตสาหกรรม 4.0 การพัฒนาของไทย
- Industry4_index_thai ต้นทุนค่าใช้จ่ายที่มีในงานองค์กร 10 หมวด
-
-------
- Industry4_020 ตัวอย่าง แผนโครงการส่งเสริมผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสู่การเป็นอุตสาหกรรม 4.0
- Industry4_020 ตัวอย่าง แผนขั้นตอนที่ 2 กำหนดวัตถุประสงค์ (Objectives) และกลยุทธ์ (Strategies)
- Industry4_020 ตัวอย่าง แผนขั้นตอนที่ 3 สร้างทีมงานและสร้างความตระหนัก (raise awareness)
- Industry4_020 ตัวอย่าง แผนขั้นตอนที่ 4 วางแผนด้านเทคโนโลยี (technology planning)
- Industry4_020 ตัวอย่าง แผนขั้นตอนที่ 7 การวัดและติดตามผล (Measurement and Monitoring)
- Industry4_020 ตัวอย่าง แผนขั้นตอนที่ 8 การปรับปรุงและการเรียนรู้ (Improvement and Learning)
---
ดัชนีชี้วัดการเป็นอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) รวมข้อมูล
ปัจจุบันมีการพยายามจัดทำดัชนีเพื่อการชี้วัดความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นอุตสาหกรรม 4.0 ในแต่ละประเทศ
e-book อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)
- e-book_Industry4_thai_nstd ดัชนีชี้วัดระดับความพร้อมของอุตสาหกรรมไทย 4.0 (Thailand I 4.0 Index)
- e-book_Industry4_thai_moi การตรวจวินิจฉัยองค์กรตามแนวทางอุตสาหกรรม (Industry 4.0 Check-Up Guideline)
- e-book_Industry4_thai_dpim คู่มือประเมินความพร้อมสถานประกอบการ อุตสาหกรรมพื้นฐาน สู่อุตสาหกรรม 4.0
-
-
-
---
ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งไม่เพียงแต่ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมเท่านั้นที่จะต้องตระหนักถึงความท้าทาย และโอกาสในการที่จะมาใช้ประโยชน์จากการปฎิวัติอุตสาหกรรม 4.0 ในครั้งนี้ รวมถึงผู้นำของประเทศองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ภาคสังคม การเมือง สถาบันการศึกษาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและประชาชน ล้วนมีส่วนที่จะต้องตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้นมีการเตรียมความพร้อม ให้สามารถรับมือให้ทันการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพื่อรักษาขีดความสามารถการแข่งขันกับนานาประเทศ ซึ่งในการที่จะเตรียมความพร้อม SMEs สู่อุตสาหกรรม 4.0 การประเมินศักยภาพอุตสาหกรรมและการเริ่มดำเนินการเป็นลี่งที่สำคัญและมืความจำเป็น เนื่องจากอุตสาหกรรมล้วนเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจและผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) การไม่สามารถใช้ประโยชน์จากภาคอุตสาหกรรม 4.0 จะทำให้ประเทศเสียเปรียบในการแข่งขัน
---------------------------------
ที่มาข้อมูล
---------------------------------
สนใจเรื่องราวเพิ่มเติมคลิกที่นี่
อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) รวมข้อมูล