CT51 เอกสารเผยแพร่เรื่อง “การจัดการโลจิสติกส์เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน” ปี 2551
โดย สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้รับมอบหมายจากกระทรวงอุตสาหกรรมในการดำเนินภารกิจที่สำคัญ 3 ด้านได้แก่ การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรแร่ การพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม ซึ่งในส่วนของการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรมเป็นภารกิจใหม่ที่ได้รับมอบหมายตั้งแต่ปี 2549 เพื่อมุ่งส่งเสริมให้ภาคการผลิตมีการจัดการโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ ด้วยการดำเนินการภายใต้แผนปฏิบัติการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม 4 ประเด็นหลักประกอบด้วย
(1) การเชื่อมโยงระหว่างองค์กรตลอดโซ่อุปทาน
(2) การปรับปรุงประสิทธิภาพโลจิสติกส์ภายในองค์กร
(3) การพัฒนาขีดความสามารถด้านโลจิสติกส์
(4) การสร้างปัจจัยเอื้อเพื่อสนับสนุนการประกอบธุรกิจของภาคอุตสาหกรรม
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ,มีดำเนินกิจกรรมสำคัญที่เป็นรูปธรรม เช่น การกำหนดและเผยแพร่วิธีการจัดการที่ดีที่สุด (Best Practice) การจัดทำตัวชี้วัดโลจิสติกส์ ได้แก่ ต้นทุนโลจิสติกส์ ซึ่งแสดงในรูปของต้นทุนโลจิสติกส์ต่อยอดขายและดัชนีต้นทุนโลจิสติกส์ การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานโลจิสติกส์ของอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐาน การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ในสถานประกอบการ โดยให้คำปรึกษาแนะนำให้สถานประกอบการมีการจัดการโลจิสติกส์ที่ได้มาตรฐาน ตลอดจนการสร้างองค์ความรู้แก่บุคลากรด้านโลจิสติกส์โดยการฝึกอบรมและดูงาน การเสริมศักยภาพผู้ว่างงานภายใต้โครงการต้นกล้าอาชีพ นอกจากนี้ยังได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยดำเนินโครงการพัฒนาเนื้อหาและองค์ความรู้ด้านโลจิสติกส์อุตสาหกรรม พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมสาขาเป้าหมาย เพื่อให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านโลจิสติกส์ โดยผลผลิตประการหนึ่งของโครงการคือ การจัดทำบทความเพื่อเผยแพร่ในเว็บไซต์ของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ได้แก่ http://logistics.dpim.go.th และ http://www.industry4u.com ในหัวข้อต่างๆ ได้แก่
(1) การกระจายสินค้า
(2) การปรับปรุงประสิทธิภาพในองค์กร
(3) ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพ
(4) Reverse Logistics
(5) Green Logistics
(6) สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ
(7) แนวคิดโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
เอกสารเผยแพร่เรื่อง “การจัดการโลจิสติกส์เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน” จึงเป็นการนำบทความดังกล่าวที่น่าสนใจจำนวน 80 บทความ โดยจัดทำเป็นรูปเล่ม เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสำหรับผู้สนใจในการศึกษาความรู้ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิผล
--------------------------------
สนใจบทความคลิกดูได้ตามหัวข้อด้านล่าง
CT51 เอกสารเผยแพร่เรื่อง “การจัดการโลจิสติกส์เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน” ปี 2551
เอกสารเผยแพร่เรื่อง “การจัดการโลจิสติกส์เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน ปี 2551” จึงเป็นการนำบทความดังกล่าวที่น่าสนใจจำนวน 80 บทความ จัดทำเป็นรูปเล่ม เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสำหรับผู้สนใจในการศึกษาความรู้ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิผล
CT51 การพัฒนาระบบคลัสเตอร์ของเมืองกุจรันวาลา (Gujranwala) ประเทศปากีสถาน
CT51 พัฒนาการของระบบโลจิสติกส์
CT51 วิสัยทัศน์ต่อธุรกิจการขนส่งและโลจิสติกส์ของไทยในวงล้อของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community)
CT51 กลยุทธ์การจัดซื้อในโซ่อุปทาน
CT51 โลจิสติกส์กับการบริหารงานโครงการ…ตอนที่ 1
CT51 Logistics และ Supply Chain ต้นน้ำของอุตสาหกรรมน้ำตาลในประเทศไทย
CT51 ความหวังของตลาดกลางสินค้าเกษตร ณ สี่แยกอินโดจีน
CT51 ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการอุตสาหกรรม
CT51 การจัดซื้อวัตถุดิบหรือสินค้าจากประเทศจีนสามารถประหยัดต้นทุนได้จริงหรือไม่
CT51 การวางแผนการกระจายสินค้าโดยการพิจารณาจำนวนคลังย่อยที่เหมาะสม
CT51 The global GS1 Traceability Standard ระบบมาตรฐานการสอบย้อนกลับสากล
CT51 การเพิ่มผลกำไรด้วยการจัดการสินค้าที่ถูกส่งคืน
CT51 Logistics และ Supply Chain กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมน้ำตาลในประเทศไทย
CT51 กระบวนการ By Products และ Logistics ทางด้านขนส่งอ้อยออกจากโรงงาน
CT51 การวัดประสิทธิภาพด้วยดัชนีโลจิสติกส์
CT51 เครื่องมือในการบริหารจัดการความเสี่ยงในโช่อุปทาน (New Tool for Managing Risk in Supply Chain)
CT51 โลจิสติกส์เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม (Green Logistics)
CT51 การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ในการขับเคลื่อนระบบขนส่งไทย
CT51 ดัชนีบอลติคในการขนส่งทางทะเล (Baltic Dry Index)
CT51 East-West Economic Corridor และการเป็นศูนย์กลางทางโลจิสติกส์แห่งเอเชียของประเทศไทย
CT51 Supply Chain ต้นน้ำยางพาราในประเทศไทย
CT51 Outsourcing และ Offshoring ยาวิเศษต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันจริงหรือไม่
CT51 15 วิธีในการลดต้นทุนด้านสินค้าคงคลัง
CT51 การจัดการโซ่อุปทานแบบกรีน (Green Supply Chain Management)
CT51 โลจิสติกส์กับการบริหารงานโครงการ (ตอนที่ 2): การวางแผนโครงการ (Project Planning)
CT51 การบริหารการขนส่งสินค้าเพื่อสิ่งแวดล้อม (Green Transportation Management)
CT51 ปัจจัยที่มีผลต่อต้นทุนการขนส่งสินค้า
CT51 วิธีการในการพยากรณ์สินค้าคงคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
CT51 การช่วยเหลือทางมนุษยธรรมโดยใช้การจัดการโซ่อุปทานที่รวดเร็ว
CT51 นวัตกรรมของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการเปลี่ยนแปลงของโซ่อุปทาน
CT51 ผลกระทบของกลยุทธ์ทางการตลาดต่อโซ่อุปทาน
CT51 การออกแบบเครือข่ายของระบบโลจิสติกส์ สำหรับการบริหารการปฏิบัติงานระดับโลก (ตอนที่ 1)
CT51 การจัดการด้าน Demand และ Supply ของระบบธุรกิจสมัยใหม่
CT51 หลักการ 7 ประการในการนำไปสู่คลังสินค้าระดับโลก (SEVEN PRINCIPLES OF WORLD-CLASS WAREHOUSING)
CT51 Logistics and Supply Chain ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กรณีศึกษาบริษัท Western Digital
CT51 Logistics and Supply Chain ต้นน้ำในอุตสาหกรรมกาแฟ กรณีศึกษา บริษัทเนสกาแฟ
CT51 กลยุทธ์การจัดซื้อแบบกรีน (Green Purchasing Strategy)
CT51 ความรู้พื้นฐานสำหรับการออกแบบและก่อสร้างทางรถไฟ (Railway Engineering: Fundamental Aspect)
CT51 กลไกในการคำนวณค่าระวางเรือ
CT51 Logistics and Supply Chain ในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมกาแฟ กรณีศึกษาบริษัทเนสกาแฟ
CT51 ความเคลื่อนไหวของต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศออสเตรเลีย
CT51 ปัจจัยในการผลักดันให้เศรษฐกิจเติบโตในยุคโลกาภิวัฒน์
CT51 การออกแบบเครือข่ายของระบบโลจิสติกส์ สำหรับการบริหารการปฏิบัติงานระดับโลก (ตอนที่ 2)
CT51 ระบบทางรถไฟในอนาคต Slab Track – Low Maintenance; Next Generation of Railway Track System
CT51 การวางแผนความร่วมมือในโซ่อุปทาน
CT51 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
CT51 การบริหารโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมรถยนต์
CT51 การพัฒนาโซ่อุปทานโดยใช้ RFID
CT51 Process Control and Logistics Management for Mass Customization Manufacturing (MCM)
--------------------------------
ที่มา
เอกสารเผยแพร่เรื่อง “การจัดการโลจิสติกส์เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน” ปี 2551
โดย สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่